งานประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
1. สสจ.ศรีสะเกษ โดย สสอ.ขุขันธ์ ขอความร่วมมือ รพ.สต.ทุกแห่ง ดำเนินการตรวจสอบและจัดเก็บข้อมูลทรัพยากรสุขภาพ โดยจัดเก็บข้อมูลด้านบุคลากร และเครื่องมือแพทย์ ณ ปัจจุบัน ส่วนข้อมูลด้านบริการจัดเก็บข้อมูลของวันที่ 1 ตุลาคม 2556 - 30 กันยายน 2557 บันทึกตามระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรสุขภาพบนอินเตอร์เนต(GIS health) ผ่าน http://gishealth.moph.go.th/healthmap/gmap.php หรือทางลัดที่ลิงก์ด้านล่างนี้ ลงชื่อเข้าสุ่ระบบโดยใช้รหัส9หลักของหน่วยงาน(เติม00 จำนวน2ตัวที่ด้านหน้าและด้านหลังของรหัสงานบัตรประกัน) และพาสเวิร์ดตามที่เคยได้ให้แต่ละแห่งเรียบร้อยแล้ว และขอให้บันทึกให้เสร็จภายในวันที่ 20 ธันวาคม 2557 ให้จงได้ ซึ่งสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ จะถือเป็นข้อมูลของปีงบประมาณ 2557
10930 โรงพยาบาลขุขันธ์
ที่มา : หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ที่ ศก 0032.002/ว.4885 ลง 17 พ.ย. 2557 เรื่อง ขอความร่วมมือตรวจสอบและจัดเก็บข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุขผ่านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรสาธารณสุขบนอินเตอร์เนต(CIS health)
2. ตามที่มีพาดหัวข่าวผ่านทางสื่อมวลชนว่า "ลดหมออนามัยหน้าจอ สธ.ยกเลิกบันทึกข้อมูลไม่จำเป็น" เช่นที่แหล่งข่าว http://www.hfocus.org/content/2014/11/8581 และมีเอกสารแนวทางบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ สธ. และคู่มือการปฏิบัติงาน การจัดเก็บข้อมูลและจัดส่งข้อมูล ตามโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลด้านสุขภาพ Version 2.0 ขึ้นให้ดาวโหลดผ่านหน้าเวปฯ นั้น
สสอ.ขุขันธ์ ขอเรียนว่า ขณะนี้ ได้มีหนังสือสั่งการให้ดำเนินการตามรายละเอียดในลิงก์ข้างต้น มาแล้ว นะครับ
ที่มา : หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ที่ ศก 0032.001/ว.4930 ลง 18 พ.ย. 2557 เรื่อง การดำเนินการพัฒนาระบบข้อมุลสุขภาพตามแนวทางการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2557
3. ตามที่ สสจ.ศรีสะเกษ ขอความร่วมมือ รพ.สต.ในสังกัดทุกแห่งแจ้ง ผู้รับผิดชอบงานไอทีประจำ รพ.สต.แห่งละ 2 ท่าน ให้ สสอ.ขุขันธ์ รวบรวมส่งภายในวันที่ 7 ธันวาคม 2557 ที่ผ่านมานั้น บัดนี้ สสอ.ขุขันธ์ได้รับรายงาน และส่งรายงานต่อไปยัง สสจ.ศรีสะเกษ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครับ ขอขอบคุณทีมงานคุณภาพจาก รพ.สต.ทุกแห่ง ครับ
>>> ตรวจสอบรายชื่อ ที่กรอกรายงานเข้ามาที่ลิงก์ด้านล่างนี้ ครับ
https://docs.google.com/spreadsheets/d/13Cb1x9VpPvyHDvQBnjr6ZsrQnAWLkKK1ANcsnU1D7lU/edit?usp=sharing
1.1 คัดแยกขยะอันตราย ได้แก่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ กระป๋องสเปรย์ ขวดวัคซีน ที่ชำรุด หรือใช้การไม่ได้แล้ว บรรจุถุงละ 1 ประเภท
1.2 ส่งรายงานจำนวนขยะอันตราย ให้ สสอ.ขุขันธ์ เพื่อส่งต่อให้กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.ศรีสะเกษ ต่อไปภายในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2557
1.3 นำส่งขยะอันตราย ดังกล่าว ในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2557 ณ สสอ.ขุขันธ์ เพื่อรวบรวมส่งต่อไปยัง บ้านหนองสาด หมู่ที่ 4 ตำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ(บายพาส เกาะกลางน้ำ) ต่อไป
ขอขอบคุณ รพ.สต.ทุกแห่งที่ร่วมด้วยช่วยกันจนทำให้รายงานการจัดการขยะอันตรายในภาพรวมอำเภอขุขันธ์ เสร็จเรียบร้อยภายใน 2 วัน ขอบคุณอีกครั้ง ครับ
>>> ตรวจสอบข้อมูลรายงานฯที่ลิงก์นี้ ครับ https://docs.google.com/spreadsheets/d/1lfzak8PBdcy3lXgXri2g71JGfSq8K-RUhXO9zUoDHBI/edit?usp=sharing
ที่มา : ที่หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ด่วนที่สุด ศก 0032.007/402 ลง 18 พ.ย. 2557 เรื่อง รายงานการจัดการขยะอันตราย
ในการนี้ สสอ.ขุขันธ์ ขอขอบคุณผอ.รพ.สต. และผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ ประจำ รพ.สต.ทุกแห่ง ที่ได้ให้ความร่วมมือด้วยดีเช่นเคยในการสรุปผลการดำเนินโครงการพัฒนาชมรมผู้สูงอายุสู่เกณฑ์มาตรฐานในพื้นที่ ส่งให้สสอ.ขุขันธ์ และผู้รับผิดชอบงาน สสจ.ศรีสะเกษ ภายในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 ได้ครบทุกแห่ง (100 %)
>>> ตรวจสอบข้อมูลผลการรายงานภาพรวมอำเภอขุขันธ์ และรายชื่อ รพ.สต.ที่ได้กรอกรายงานเรียบร้อยแล้วที่ลิงก์ด้านล่างนี้
https://docs.google.com/spreadsheets/d/1EUIIt2Ka_dB11MsPdSL-fH6iBJ83s1B3nfZ7fPI_RZw/edit?usp=sharing
ที่มา : หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ที่ ศก 0032.007/ว.4906 ลง 5 พ.ย. 2557 เรื่อง ขอให้ส่งสรุปผลการดำเนินการโครงการพัฒนาชมรมผู้สูงอายุสู่เกณฑ์มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2557
1.ได้ให้ทาน(ทานมัย) ทั้งสิ่งของ และธรรมทาน ช่วยขัดเกลาความเห็นแก่ตัว ความคับแคน ความตระหนี่ถี่เหนียว และความติดยึดในวัตถุ นอกจากนี้สิ่งของที่เราแบ่งปันออกไปก็จะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม
2. ได้รักษาศีล เพราะมุ่งที่จะทำความดี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ผู้อื่นเป็นการหล่อเลี้ยงบ่มเพาะให้เกิดความดีงามและพัฒนาคุณภาพชีวิตไม่ให้ตกต่ำ (ศีลมัย)
3. ได้เจริญภาวนา (ภาวนามัย) พัฒนาจิตใจและปัญญา ทำให้จิตสงบ ไม่มีกิเลส ไม่มีเรื่องเศร้าหมอง เห็นคุณค่าสิ่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริง โดยเฉพาะคุณค่าของผุ้สูงอายุและภูมิปัญญาในท้องถิ่น เป้นต้น
4. ได้ฝึกการอ่อนน้อมถ่อมตน ผู้น้อยอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ก็แสดงออกในความมีเมตตาต่อผู้น้อย รวมถึงการให้เกียรติ ให้ความเคารพในความแตกต่างซึ่งกันและกันทั้งในความคิด ความเชื่อและวิถีปฏิบัติของบุคคลและสังคมอื่น เป็นการลดความยึดมั่นถือมั่นในความเป็นตัวตน ก็เป็นบุญ (อปจายนมัย)
5. ได้ช่วยเหลือสังคมรอบข้าง (ไวยาวัจจมัย) ช่วยเหลือสละแรงกาย เวลา เพื่องานส่วนรวม/ในชุมชน หรือช่วยงานเพื่อนบ้านที่ต้องการได้รับความช่วยเหลือ ก็เป็นบุญ
6. เปิดโอกาสให้คนอื่นมาร่วมทำบุญกับเรา(ปัตติทานมัย) หรือในการทำงานก็เปิดโอกาสให้คนอื่นมีส่วนร่วมทำ ร่วมแสดงความคิดเห็น รวมไปถึงการอุทิศส่วนบุญให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วด้วย ก็เป็นบุญ เช่นทำงานร่วมกับเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชน อสม อบต. และพระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น
7. ยอมรับและยินดีในการทำความดี หรือทำบุญของผู้อื่น การชื่นชมยินดีหรืออนุโมทนาไม่อิจฉาหรือระแวงสงสัยในการกระทำความดีของผู้อื่น ก็เป็นบุญ (ปัตตานุโมทนามัย) เช่น การนำภาพแห่งความดีที่เราท่านได้ทำมาโพสต์ลงบนเฟสให้ทุกคนได้เห็น แล้วทุกคนกดไลค์/ร่วอนุโมทนาก็เป็นบุญ
8. ได้ฟังธรรม(ธรรมสวนมัย) การได้พูดคุยกับผู้สูงอายุ และได้รับแง่คิดดีๆ จากผู้สูงอายุ ช่วยบ่มเพาะสติปัญญาให้สว่างไสว ฟังธรรมะ ฟังเรื่องที่ดีมีประโยชน์ต่อสติปัญญา หรือมีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตที่ดี เป็นความจริง ความดี ความงาม ก็เป็นบุญ
9. ได้แสดงธรรม(ธรรมเทศนามัย) ไม่ว่าจะเป็นให้ธรรมะ และข้อคิดที่ดีกับผู้อื่น บอกกล่าว เผื่อแผ่ให้คนอื่นได้รับฟัง ให้เขาได้รู้จักวิธีการดำเนินชีวิตที่ดี เป็นเรื่องของความจริง ความดี ความงาม โดยเฉพาะคำแนะนำดีดี ในการปฏิบัติตนสำหรับวัยสูงอายุ ก็เป็นบุญ
10. สิ่งที่ขาดไม่ได้ในการทำบุญทุกชนิดและทุกโอกาส ก็คือทำความเห็นให้ถูกต้องและเหมาะสม(ทิฏฐุชุกรรมหรือสัมมาทัศนะ) มีการปรับทิฏฐิ แก้ไขปรับปรุงพัฒนาความคิดเห็น ความเข้าใจให้ถูกต้องตามธรรม ให้เป็นสัมมาทัศนะอยู่เสมอ เป็นการพัฒนาปัญญาอย่างสำคัญ และต้องนำไปประกอบเข้ากับการทำบุญทั้ง 9 อย่างข้างต้น เพื่อให้ถูกต้องตามความหมาย และความมุ่งหมายของการทำบุญ พร้อมทั้งได้ผลบุญที่ถูกทาง
ที่มา : ได้พิจารณาดูตามที่ได้อ่านธรรมะจาก http://www.kanlayanatam.com/sara/sara41.htm
2. เมื่อวันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม 2557 ที่ห้องประชุม อบต.ปราสาท อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้มีการประชุมแสดงความคิดเห้นเรื่องการขุดศึกษาทางโบราณคดีปราสาทตาเล็ง โดยสำนักศิลปากรที่ 11 อุบลราชธานี ร่วมกับ อบต.ปราสาท ซึ่งอธิบดีกรมศิลปากรได้อนุมัติแล้ว และได้มอบหมายให้ นางสุกัญญา เบานิด ตำแหน่งนักโบราณคดีชำนาญการ และนายวสันต์ เทพสุริยานนท์ ตำแหน่งนักโบราณคดีชำนาญการ เป็นผู้ดำเนินงานขุดศึกษาทางโบราณคดีที่ปราสาทตาเล็งร่วมกับ อบต.ปราสาท และทีมงานชาวบ้านจิตอาสาจากทุกหมู่บ้านในสังกัดตำบลปราสาท เพื่อการออกแบบอนุรักษ์ โบราณสถานปราสาทตาเล็ง โดยจะดำเนินงานภาคนามในระหว่างเดือนธันวาคม 2557 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2558 ด้วยงบประมาณสนับสนุนจาก อบต.ปราสาท จำนวน 100,000บาท
ซึ่งเมื่อวันอังคารที่ 2 ธันวาคม 2557 อบต.ปราสาทและชาวบ้านได้จัดให้มีพิธีการเซ่นบวงสรวง"ตาเล็งกับยายสา" ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คอยดูแลปราสาท ตาเล็ง และได้อัญเชิญท่านทั้งสองไปอยู่ ณ ศาลปู่ตาแห่งใหม่ที่ลูกหลานชาวตำบลปราสาทได้ปลูกสร้างยกเป็นหลังใหม่ เพื่อความสะดวกในการขุดศึกษาทางโบราณคดีต่อไป
สำหรับในส่วนสภาวัฒนธรรมอำเภอขุขันธ์ และอำเภอขุขันธ์ ก็ได้เล็งเห็นความสำคัญได้จัดทำแผนงาน/โครงขอรับการสนับสนุนงบประมาณการบูรณะซ่อมแซมพร้อมปรับปรุงภูมิทัศน์ปราสาทตาเล็งหมู่ที่ 1 ตำบลปราสาท อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จากจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งจะได้รับจัดสรรลงมาในปี พ.ศ. 2559 เป็นจำนวนเงิน 4,000,000บาท
03350 รพ.สต.บ้านจะกง ตำบลจะกง
03351 รพ.สต.บ้านใจดี ตำบลใจดี
03353 รพ.สต.บ้านอาวอย ตำบลโสน
03355 รพ.สต.บ้านขนุน ตำบลโสน
ที่มา : หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ที่ ศก 0032.002/ว.4885 ลง 17 พ.ย. 2557 เรื่อง ขอความร่วมมือตรวจสอบและจัดเก็บข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุขผ่านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรสาธารณสุขบนอินเตอร์เนต(CIS health)
2. ตามที่มีพาดหัวข่าวผ่านทางสื่อมวลชนว่า "ลดหมออนามัยหน้าจอ สธ.ยกเลิกบันทึกข้อมูลไม่จำเป็น" เช่นที่แหล่งข่าว http://www.hfocus.org/content/2014/11/8581 และมีเอกสารแนวทางบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ สธ. และคู่มือการปฏิบัติงาน การจัดเก็บข้อมูลและจัดส่งข้อมูล ตามโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลด้านสุขภาพ Version 2.0 ขึ้นให้ดาวโหลดผ่านหน้าเวปฯ นั้น
ที่มา : หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ที่ ศก 0032.001/ว.4930 ลง 18 พ.ย. 2557 เรื่อง การดำเนินการพัฒนาระบบข้อมุลสุขภาพตามแนวทางการปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2557
3. ตามที่ สสจ.ศรีสะเกษ ขอความร่วมมือ รพ.สต.ในสังกัดทุกแห่งแจ้ง ผู้รับผิดชอบงานไอทีประจำ รพ.สต.แห่งละ 2 ท่าน ให้ สสอ.ขุขันธ์ รวบรวมส่งภายในวันที่ 7 ธันวาคม 2557 ที่ผ่านมานั้น บัดนี้ สสอ.ขุขันธ์ได้รับรายงาน และส่งรายงานต่อไปยัง สสจ.ศรีสะเกษ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครับ ขอขอบคุณทีมงานคุณภาพจาก รพ.สต.ทุกแห่ง ครับ
>>> ตรวจสอบรายชื่อ ที่กรอกรายงานเข้ามาที่ลิงก์ด้านล่างนี้ ครับ
https://docs.google.com/spreadsheets/d/13Cb1x9VpPvyHDvQBnjr6ZsrQnAWLkKK1ANcsnU1D7lU/edit?usp=sharing
4. แนะนำแทปเลตสำหรับงานเยี่ยมบ้านและพัฒนาความถูกต้องแม่นยำของระบบข้อมูลงานสาธารณสุขที่ผ่านการทดสอบและพบใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพในระดับพอใช้ ดี และดีมาก
ระดับพอใช้ |
ระดับดี |
ระดับดีมาก |
งานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
1. ตามที่ สสอ.ขุขันธ์ ได้รับแจ้งจากจังหวัดศรีสะเกษ ผ่านทาง สสจ.ศรีสะเกษ ให้ โรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ทุกแห่ง ดำเนินการจัดการขยะอันตราย โดยด่วน ดังต่อไปนี้1.1 คัดแยกขยะอันตราย ได้แก่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ กระป๋องสเปรย์ ขวดวัคซีน ที่ชำรุด หรือใช้การไม่ได้แล้ว บรรจุถุงละ 1 ประเภท
1.2 ส่งรายงานจำนวนขยะอันตราย ให้ สสอ.ขุขันธ์ เพื่อส่งต่อให้กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.ศรีสะเกษ ต่อไปภายในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2557
1.3 นำส่งขยะอันตราย ดังกล่าว ในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2557 ณ สสอ.ขุขันธ์ เพื่อรวบรวมส่งต่อไปยัง บ้านหนองสาด หมู่ที่ 4 ตำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ(บายพาส เกาะกลางน้ำ) ต่อไป
ขอขอบคุณ รพ.สต.ทุกแห่งที่ร่วมด้วยช่วยกันจนทำให้รายงานการจัดการขยะอันตรายในภาพรวมอำเภอขุขันธ์ เสร็จเรียบร้อยภายใน 2 วัน ขอบคุณอีกครั้ง ครับ
>>> ตรวจสอบข้อมูลรายงานฯที่ลิงก์นี้ ครับ https://docs.google.com/spreadsheets/d/1lfzak8PBdcy3lXgXri2g71JGfSq8K-RUhXO9zUoDHBI/edit?usp=sharing
ที่มา : ที่หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ด่วนที่สุด ศก 0032.007/402 ลง 18 พ.ย. 2557 เรื่อง รายงานการจัดการขยะอันตราย
งานดูแลผู้สุงอายุ
1. ตามที่ สสจ.ศรีสะเกษ ได้จัดทำโครงการพัฒนาชมรมผู้สุงอายุสู่เกณฑ์มาตรฐาน จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2557 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้ภาคีเครือข่ายด้านผู้สูงอายุในพื้นที่ ได้พัฒนาให้ชมรมผู้สูงอายุเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ และสามารถช่วยเหลือสังคมได้ตามศักยภาพ นั้นในการนี้ สสอ.ขุขันธ์ ขอขอบคุณผอ.รพ.สต. และผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ ประจำ รพ.สต.ทุกแห่ง ที่ได้ให้ความร่วมมือด้วยดีเช่นเคยในการสรุปผลการดำเนินโครงการพัฒนาชมรมผู้สูงอายุสู่เกณฑ์มาตรฐานในพื้นที่ ส่งให้สสอ.ขุขันธ์ และผู้รับผิดชอบงาน สสจ.ศรีสะเกษ ภายในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 ได้ครบทุกแห่ง (100 %)
>>> ตรวจสอบข้อมูลผลการรายงานภาพรวมอำเภอขุขันธ์ และรายชื่อ รพ.สต.ที่ได้กรอกรายงานเรียบร้อยแล้วที่ลิงก์ด้านล่างนี้
https://docs.google.com/spreadsheets/d/1EUIIt2Ka_dB11MsPdSL-fH6iBJ83s1B3nfZ7fPI_RZw/edit?usp=sharing
ที่มา : หนังสือ สสจ.ศรีสะเกษ ที่ ศก 0032.007/ว.4906 ลง 5 พ.ย. 2557 เรื่อง ขอให้ส่งสรุปผลการดำเนินการโครงการพัฒนาชมรมผู้สูงอายุสู่เกณฑ์มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2557
งานจริยธรรม และวัฒนธรรม
1. เมื่อพิจารณาให้ดีแล้ว การเยี่ยมบ้านงานผู้สุงอายุและสุขภาพจิต ถือว่าท่านได้ทำบุญ(บุญกิริยาวัตถุ 10) ได้ครบ 10 วิธีของการทำบุญในทางพระพุทธศาสนา แต่จะได้มากได้น้อย หรือครบ 100 % อยู่ที่Actionทั้งทางกาย วาจา และใจ ได้แก่1.ได้ให้ทาน(ทานมัย) ทั้งสิ่งของ และธรรมทาน ช่วยขัดเกลาความเห็นแก่ตัว ความคับแคน ความตระหนี่ถี่เหนียว และความติดยึดในวัตถุ นอกจากนี้สิ่งของที่เราแบ่งปันออกไปก็จะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม
2. ได้รักษาศีล เพราะมุ่งที่จะทำความดี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ผู้อื่นเป็นการหล่อเลี้ยงบ่มเพาะให้เกิดความดีงามและพัฒนาคุณภาพชีวิตไม่ให้ตกต่ำ (ศีลมัย)
3. ได้เจริญภาวนา (ภาวนามัย) พัฒนาจิตใจและปัญญา ทำให้จิตสงบ ไม่มีกิเลส ไม่มีเรื่องเศร้าหมอง เห็นคุณค่าสิ่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริง โดยเฉพาะคุณค่าของผุ้สูงอายุและภูมิปัญญาในท้องถิ่น เป้นต้น
4. ได้ฝึกการอ่อนน้อมถ่อมตน ผู้น้อยอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ก็แสดงออกในความมีเมตตาต่อผู้น้อย รวมถึงการให้เกียรติ ให้ความเคารพในความแตกต่างซึ่งกันและกันทั้งในความคิด ความเชื่อและวิถีปฏิบัติของบุคคลและสังคมอื่น เป็นการลดความยึดมั่นถือมั่นในความเป็นตัวตน ก็เป็นบุญ (อปจายนมัย)
5. ได้ช่วยเหลือสังคมรอบข้าง (ไวยาวัจจมัย) ช่วยเหลือสละแรงกาย เวลา เพื่องานส่วนรวม/ในชุมชน หรือช่วยงานเพื่อนบ้านที่ต้องการได้รับความช่วยเหลือ ก็เป็นบุญ
6. เปิดโอกาสให้คนอื่นมาร่วมทำบุญกับเรา(ปัตติทานมัย) หรือในการทำงานก็เปิดโอกาสให้คนอื่นมีส่วนร่วมทำ ร่วมแสดงความคิดเห็น รวมไปถึงการอุทิศส่วนบุญให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วด้วย ก็เป็นบุญ เช่นทำงานร่วมกับเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุในชุมชน อสม อบต. และพระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น
7. ยอมรับและยินดีในการทำความดี หรือทำบุญของผู้อื่น การชื่นชมยินดีหรืออนุโมทนาไม่อิจฉาหรือระแวงสงสัยในการกระทำความดีของผู้อื่น ก็เป็นบุญ (ปัตตานุโมทนามัย) เช่น การนำภาพแห่งความดีที่เราท่านได้ทำมาโพสต์ลงบนเฟสให้ทุกคนได้เห็น แล้วทุกคนกดไลค์/ร่วอนุโมทนาก็เป็นบุญ
8. ได้ฟังธรรม(ธรรมสวนมัย) การได้พูดคุยกับผู้สูงอายุ และได้รับแง่คิดดีๆ จากผู้สูงอายุ ช่วยบ่มเพาะสติปัญญาให้สว่างไสว ฟังธรรมะ ฟังเรื่องที่ดีมีประโยชน์ต่อสติปัญญา หรือมีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตที่ดี เป็นความจริง ความดี ความงาม ก็เป็นบุญ
9. ได้แสดงธรรม(ธรรมเทศนามัย) ไม่ว่าจะเป็นให้ธรรมะ และข้อคิดที่ดีกับผู้อื่น บอกกล่าว เผื่อแผ่ให้คนอื่นได้รับฟัง ให้เขาได้รู้จักวิธีการดำเนินชีวิตที่ดี เป็นเรื่องของความจริง ความดี ความงาม โดยเฉพาะคำแนะนำดีดี ในการปฏิบัติตนสำหรับวัยสูงอายุ ก็เป็นบุญ
10. สิ่งที่ขาดไม่ได้ในการทำบุญทุกชนิดและทุกโอกาส ก็คือทำความเห็นให้ถูกต้องและเหมาะสม(ทิฏฐุชุกรรมหรือสัมมาทัศนะ) มีการปรับทิฏฐิ แก้ไขปรับปรุงพัฒนาความคิดเห็น ความเข้าใจให้ถูกต้องตามธรรม ให้เป็นสัมมาทัศนะอยู่เสมอ เป็นการพัฒนาปัญญาอย่างสำคัญ และต้องนำไปประกอบเข้ากับการทำบุญทั้ง 9 อย่างข้างต้น เพื่อให้ถูกต้องตามความหมาย และความมุ่งหมายของการทำบุญ พร้อมทั้งได้ผลบุญที่ถูกทาง
ที่มา : ได้พิจารณาดูตามที่ได้อ่านธรรมะจาก http://www.kanlayanatam.com/sara/sara41.htm
2. เมื่อวันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม 2557 ที่ห้องประชุม อบต.ปราสาท อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้มีการประชุมแสดงความคิดเห้นเรื่องการขุดศึกษาทางโบราณคดีปราสาทตาเล็ง โดยสำนักศิลปากรที่ 11 อุบลราชธานี ร่วมกับ อบต.ปราสาท ซึ่งอธิบดีกรมศิลปากรได้อนุมัติแล้ว และได้มอบหมายให้ นางสุกัญญา เบานิด ตำแหน่งนักโบราณคดีชำนาญการ และนายวสันต์ เทพสุริยานนท์ ตำแหน่งนักโบราณคดีชำนาญการ เป็นผู้ดำเนินงานขุดศึกษาทางโบราณคดีที่ปราสาทตาเล็งร่วมกับ อบต.ปราสาท และทีมงานชาวบ้านจิตอาสาจากทุกหมู่บ้านในสังกัดตำบลปราสาท เพื่อการออกแบบอนุรักษ์ โบราณสถานปราสาทตาเล็ง โดยจะดำเนินงานภาคนามในระหว่างเดือนธันวาคม 2557 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2558 ด้วยงบประมาณสนับสนุนจาก อบต.ปราสาท จำนวน 100,000บาท
ปราสาทตาเล็ง สร้างขึ้นโดยมีรูปแบบศิลปะเขมรแบบบาปวน มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๗ โบราณสถานแห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียน เป็นโบราณสถานของชาติ และกำหนดขอบเขตโบราณสถาน ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๙๙ ตอนที่ ๑๗๒ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ เนื้อที่ประมาณ ๓ ไร่ ๒ งาน ๕๓ ตารางวา |
สำหรับในส่วนสภาวัฒนธรรมอำเภอขุขันธ์ และอำเภอขุขันธ์ ก็ได้เล็งเห็นความสำคัญได้จัดทำแผนงาน/โครงขอรับการสนับสนุนงบประมาณการบูรณะซ่อมแซมพร้อมปรับปรุงภูมิทัศน์ปราสาทตาเล็งหมู่ที่ 1 ตำบลปราสาท อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จากจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งจะได้รับจัดสรรลงมาในปี พ.ศ. 2559 เป็นจำนวนเงิน 4,000,000บาท