วาระการประชุม สสอ.ขุขันธ์ 8 พ.ย. 2559
๔.๑๕
กลุ่มงานควบคุมโรค
๑. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทยขอมูลเฝาระวังโรค
ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค. ๒๕๕๙ - ๑๗ ต.ค. ๕๙ พบผูปวย ๔๙,๒๕๒ ราย จาก ๗๗ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๗๕.๒๘ ตอ แสนประชากร เสียชีวิต ๔๒
ราย
คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๖ ตอแสนประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๙๘ กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ ๑๕-๒๔ ป (๒๔.๗๔ %) ๑๐-๑๔ ป (๑๗.๑๐ %) ๒๕-๓๔ ป (๑๕.๕๐ %) สัญชาติเปนไทย
รอยละ๙๗.๒ พมารอยละ ๑.๔ อื่นๆ รอยละ ๐.๙ กัมพูชารอยละ ๐.๒ ลาวรอยละ ๐.๒ จีน/ฮองกง/ไตหวัน
รอยละ ๐.๑ เวียดนามรอยละ ๐.๐ มาเลเซียรอยละ ๐.๐ อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอยละ ๔๒.๘ รับจางรอยละ ๑๙.๑ ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ ๑๘.๗ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด ๕ อันดับแรกคือ แมฮองสอน (๓๕๗.๑๓ ตอแสนประชากร) เชียงใหม (๒๕๒.๘๑ ตอแสนประชากร) สงขลา (๒๐๑.๘๖ ตอแสน ประชากร) พัทลุง (๑๗๑.๐๒ ตอแสนประชากร) บึงกาฬ (๑๕๑.๐๙ ตอแสน ประชากร) ภาคที่มีอัตราปวยสูงสุด คือ ภาคใต ๑๐๗.๒๔ ตอแสน ประชากร ภาคเหนือ ๙๗.๑๙ ตอแสนประชากร ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ๖๓.๘๓ ตอแสนประชากร ภาคกลาง ๖๑.๕๓ ตอแสน ประชากรตามลําดับ
คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๖ ตอแสนประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๙๘ กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ ๑๕-๒๔ ป (๒๔.๗๔ %) ๑๐-๑๔ ป (๑๗.๑๐ %) ๒๕-๓๔ ป (๑๕.๕๐ %) สัญชาติเปนไทย
รอยละ๙๗.๒ พมารอยละ ๑.๔ อื่นๆ รอยละ ๐.๙ กัมพูชารอยละ ๐.๒ ลาวรอยละ ๐.๒ จีน/ฮองกง/ไตหวัน
รอยละ ๐.๑ เวียดนามรอยละ ๐.๐ มาเลเซียรอยละ ๐.๐ อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอยละ ๔๒.๘ รับจางรอยละ ๑๙.๑ ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ ๑๘.๗ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด ๕ อันดับแรกคือ แมฮองสอน (๓๕๗.๑๓ ตอแสนประชากร) เชียงใหม (๒๕๒.๘๑ ตอแสนประชากร) สงขลา (๒๐๑.๘๖ ตอแสน ประชากร) พัทลุง (๑๗๑.๐๒ ตอแสนประชากร) บึงกาฬ (๑๕๑.๐๙ ตอแสน ประชากร) ภาคที่มีอัตราปวยสูงสุด คือ ภาคใต ๑๐๗.๒๔ ตอแสน ประชากร ภาคเหนือ ๙๗.๑๙ ตอแสนประชากร ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ๖๓.๘๓ ตอแสนประชากร ภาคกลาง ๖๑.๕๓ ตอแสน ประชากรตามลําดับ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดศรีสะเกษ ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๙ พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น ๑,๑๘๗ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๘๑.๐๑ ต่อประชากรแสนคน
มีรายงานผู้เสียชีวิต ๒ ราย
ที่อำเภอขุขันธ์ และอำเภอวังหิน อำเภอละ ๑ ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ ๐.๑๔ อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ ๐.๑๗ เป็นลำดับที่ ๒๙ ของจังหวัดที่พบอัตราป่วยสูงสุด อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง เท่ากับ ๑.๑๕ : ๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ ๑๐ - ๑๔ ปี (๒๖๕.๙ ต่อแสนประชากร) รองลงมาคือ กลุ่มอายุ
๕-๙ ปี (๒๗๕.๗๓ ต่อแสนประชากร),กลุ่มอายุ ๑๕ - ๒๔ ปี (๑๒๘.๕๔ ต่อแสนประชากร),กลุ่มอายุ ๐ - ๔ ปี (๘๔.๘๘ ต่อแสนประชากร) และกลุ่มอายุ ๒๕ - ๓๔ ปี (๕๒.๔๕ ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ นักเรียน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ ๕๗๔ ราย รองลงมาคือ เกษตร (๒๒๗ ราย) , ไม่ทราบอาชีพ/
ในปกครอง (๑๔๐ ราย),บุคลากรสาธารณสุข (๑๐๘ ราย) และอื่นๆ (๖๕ ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด ๕ อันดับแรก คือ อำเภอปรางค์กู่อัตราป่วย ๑๑๖.๑๔ ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ (๑๑๑.๔๒ ต่อแสนประชากร), อำเภอเบญจลักษ์(๑๐๐.๓๕ ต่อแสนประชากร),อำเภอบึงบูรพ์ (๘๔.๐๔ ต่อแสนประชากร) และอำเภอกันทรลักษ์ (๙๙.๒ ต่อแสนประชากร)
ที่อำเภอขุขันธ์ และอำเภอวังหิน อำเภอละ ๑ ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ ๐.๑๔ อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ ๐.๑๗ เป็นลำดับที่ ๒๙ ของจังหวัดที่พบอัตราป่วยสูงสุด อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง เท่ากับ ๑.๑๕ : ๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ ๑๐ - ๑๔ ปี (๒๖๕.๙ ต่อแสนประชากร) รองลงมาคือ กลุ่มอายุ
๕-๙ ปี (๒๗๕.๗๓ ต่อแสนประชากร),กลุ่มอายุ ๑๕ - ๒๔ ปี (๑๒๘.๕๔ ต่อแสนประชากร),กลุ่มอายุ ๐ - ๔ ปี (๘๔.๘๘ ต่อแสนประชากร) และกลุ่มอายุ ๒๕ - ๓๔ ปี (๕๒.๔๕ ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ นักเรียน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ ๕๗๔ ราย รองลงมาคือ เกษตร (๒๒๗ ราย) , ไม่ทราบอาชีพ/
ในปกครอง (๑๔๐ ราย),บุคลากรสาธารณสุข (๑๐๘ ราย) และอื่นๆ (๖๕ ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด ๕ อันดับแรก คือ อำเภอปรางค์กู่อัตราป่วย ๑๑๖.๑๔ ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ (๑๑๑.๔๒ ต่อแสนประชากร), อำเภอเบญจลักษ์(๑๐๐.๓๕ ต่อแสนประชากร),อำเภอบึงบูรพ์ (๘๔.๐๔ ต่อแสนประชากร) และอำเภอกันทรลักษ์ (๙๙.๒ ต่อแสนประชากร)
ข้อมูลผู้ป่วยในเดือนกันยายนที่ผ่านมาก
จะพบว่าจังหวัดศรีสะเกษมีจำนวนผู้ป่วยที่ลดลงแต่ยังมากกว่าค่ากลาง(Median)
ซึ่งถือว่ายังมีการระบาดอยู่ จำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังสถานการณ์โรคอย่างเข้มข้นเพราะปลายฤดูฝน
ยังมีน้ำขังในภาชนะต่างๆ เป็นแหล่งแพร่พันธุ์ของยุงลาย ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
จึงขอความร่วมมือจากผู้บริหารสาธารณสุข
ให้ความสำคัญและกำกับติดตามกิจกรรมการดำเนินงานควบคุมไข้เลือดออก โดยเน้นการควบคุมไม่ให้มีผู้ป่วยระรอกที่ ๒
ส่งเสริมสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยงาน จัดกิจกรรมดำเนินงานส่งเสริมให้ประชาชน ร่วมมือกัน
ดูแลสภาพแวดล้อม และควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง ลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน ชุมชน
ทำให้ วัด โรงเรียนและหน่วยงานปลอดลูกน้ำยุงลาย
๒.
สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
สถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสซิกาในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่
๑ ม.ค.- ๓๐ ก.ย. ๕๙ พบผู้ป่วยแล้ว ๓๙๒ ราย ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา
พบผู้ป่วยรายใหม่ ๔๓ ราย แนวโน้มผู้ป่วยแต่ละสัปดาห์คงที่ใกล้เคียงกัน
ซึ่งสามารถควบคุมโรคได้โดยพบผู้ป่วยในบางอำเภอ บางจังหวัดเท่านั้น จังหวัดศรีสะเกษ ปี ๒๕๕๙ ยังไม่พบการติดเชื้อไวรัสซิกา
ซึ่งสามารถควบคุมโรคได้โดยพบผู้ป่วยในบางอำเภอ บางจังหวัดเท่านั้น จังหวัดศรีสะเกษ ปี ๒๕๕๙ ยังไม่พบการติดเชื้อไวรัสซิกา
การเฝ้าระวังในพื้นที่ เน้นมาตรการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ในกลุ่มประชากร ๔ กลุ่ม ดังนี้ ๑) หญิงตั้งครรภ์ที่มีไข้ออกผื่น
๒) ผู้ป่วยที่มีไข้ออกผื่นที่มีการป่วยเป็นกลุ่มก้อน ๓)
ทารกที่มีความผิดปกติศีรษะเล็ก ๔) กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร
(Guillain-Barre syndrome) และ ผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท อักเสบอื่นๆ
เมื่อพบผู้ป่วยที่เข้าได้กับนิยาม
PUI ที่ในสถานพยาบาลทุกประเภททั้งภาครัฐและเอกชนสถานพยาบาลทุกระดับ
ต้องสอบสวนโรคภายใน ๒๔
ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย ตามแบบสอบสวนโรคเฉพาะรายของกรมควบคุมโรค และแจ้งไปยัง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
และกรมควบคุมโรค ตามลำดับ พร้อมทั้งเก็บตัวอย่างส่งตรวจเพื่อยืนยันผลการวินิจฉัยที่จะระบุถึงสาเหตุ ของผู้ป่วยที่เข้านิยาม PUI ดังกล่าว และเพื่อเป็นการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อ Zika virus โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ ๑. ทีมสอบสวนโรคเก็บตัวอย่างจากผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
๔ กลุ่ม ที่เข้านิยาม PUI ๒.ผู้ป่วยไข้ออกผื่นที่มีการป่วยเป็นกลุ่มก้อนให้เก็บตัวอย่างไม่เกิน
๑๐ รายต่อหนึ่งกลุ่มก้อน ในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกานั้น เสนอแนะให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องติดตามความรู้และแนวทางต่างจากเว็บไซด์สำนักระบาดวิทยา
โดยสามารถเข้าถึงได้ที่ http://๒๐๓.๑๕๗.๑๕.๑๑๐/boe/zika.php
ผลการเฝ้าระวังในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ ทำการส่งตัวอย่างกลุ่มผู้ป่วยเข้านิยาม PUI จำนวน ๙ ราย
จำแนกเป็นรายอำเภอ ดังนี้
อำเภอ
|
จำนวนผู้ป่วย(ราย)
|
หมายเหตุ
|
เมืองศรีสะเกษ
|
๒
|
แพทย์
๑ ราย , นักศึกษาแพทย์ ๑ ราย
|
กันทรลักษ์
|
๑
|
ผู้ป่วยเด็ก
AFP
|
ภูสิงห์
|
๒
|
แพทย์
๑ ราย ,
หญิงตั้งครรภ์ ๑ ราย
|
โนนคูณ
|
๑
|
หญิงตั้งครรภ์
๑ ราย
|
ผู้ป่วยทั้ง ๙
รายได้รับการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการทุกราย ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบการติดเชื้อไวรัสซิกา แต่อย่างไรก็ตามยังจำเป็นต้องทำการค้นหาผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการเฝ้าระวังโรค
โดยรหัสวินิจฉัยที่ใช้ในการค้นหาเฝ้าระวังที่หน่วยบริการที่จำเป็นต้องทำการค้นหา
เดือนละ ๑ ครั้ง
ลำดับ
|
รหัสวินิฉัย
|
ชื่อโรค
|
๑
|
A๙๐
|
Dengue
Fever
|
๒
|
B๐๕
|
Measles
|
๓
|
B๐๖
|
Rubella
|
๔
|
B๐๙
|
Viral
Examthem
|
๕
|
U๐๖.๙
|
Zika
Fever
|
๖
|
R๒๑
|
Maculopapular
Rash
|
๗
|
Q๐๒
|
Microcephaly
|
แนวทางดำเนินการคือ เมื่อค้นพบ
ผู้ป่วยในระบบให้บริการที่สถานบริการให้ดำเนินการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค สามารถติดตามศึกษาแนวทางเพิ่มเติมได้ที่ http://๒๐๓.๑๕๗.๑๕.๑๑๐/boe/zika.php
หัวข้อ แนวทาง/มาตรการ
๓. สถานการณ์โรคมือเท้าปาก
สถานการณ์โรคมือเท้าปาก ประเทศไทยขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค.
๒๕๕๙ - ๑๖ ต.ค. ๕๙ พบผูปวย ๗๐๐๗๐ ราย จาก ๗๗ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๑๐๗.๑๐
ตอ แสนประชากร เสียชีวิต ๓ ราย อัตรา สวน
เพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๗๓ กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ ๑ ป (๒๖.๙๙ %) ๒ ป (๒๔.๗๘ %) ๓ ป (๑๘.๙๕ %)
สัญชาติเปนไทยรอยละ ๙๘.๒ อื่นๆรอยละ ๐.๙ พมารอยละ ๐.๖ กัมพูชารอยละ ๐.๒ ลาว รอยละ ๐.๑ จีน/ ฮองกง/ไตหวันรอยละ ๐.๐
มาเลเซียรอยละ ๐.๐ เวียดนามรอยละ ๐.๐ อาชีพสวนใหญ ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ
๘๗.๙ นักเรียน รอยละ ๑๐.๕ อื่นๆรอยละ ๑.๑ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสน ประชากรสูงสุด ๕ อันดับ แรกคือ สระบุรี(๒๗๓.๗๗
ตอแสนประชากร) นาน (๒๕๒.๒๕ ตอ แสนประชากร) ระยอง (๒๕๐.๕๕ ตอแสนประชากร)
เชียงราย (๒๔๗.๙๐ ตอแสนประชากร) พิษณุโลก (๒๒๓.๘๘ ตอแสน ประชากร)
สถานการณ์โรคมือเท้าปาก
จังหวัดศรีสะเกษ
ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่
๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๙ พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น ๑๐๘๐ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๗๓.๗๑
ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราส่วนเพศชาย ต่อ
เพศหญิง เท่ากับ ๑.๕๒ : ๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ ๐ - ๔
ปี (๑๑๖๔.๒ ต่อแสนประชากร) รองลงมาคือ
กลุ่มอายุ ๕ - ๙ ปี (๔๘.๘๕ ต่อแสนประชากร) , กลุ่มอายุ
๑๐ - ๑๔ ปี (๙.๒
ต่อแสนประชากร) , กลุ่มอายุ ๑๕ - ๒๔ ปี (๔.๘๖
ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ ๑๐๒๓
ราย รองลงมาคือ นักเรียน (๔๖
ราย) , บุคลากรสาธารณสุข (๖ ราย) , อื่นๆ (๔ ราย) และข้าราชการ (๑ ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด ๕ อันดับแรก คือ อำเภอโนนคูณอัตราป่วย ๑๘๘.๗๙
ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ (๑๖๐.๑๑
ต่อแสนประชากร) , อำเภอเบญจลักษ์ (๑๒๗.๔๗
ต่อแสนประชากร) , อำเภอไพรบึง (๑๒๖.๖๗
ต่อแสนประชากร) และอำเภอบึงบูรพ์ (๑๒๑.๓๙
ต่อแสนประชากร)
จากข้อมูลผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นและส่วนใหญ่เป็นเด็กโดยเฉพาะเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ในช่วงฤดูฝน
จะพบผู้ป่วยมากขึ้น ควรดำเนินการให้เกิดความร่วมมือของครูพี่เลี้ยงเด็กและผู้ปกครองในการคัดกรองอาการเด็กหากมีอาการป่วยหรือสงสัย ให้ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและเน้นความสะอาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
จะพบผู้ป่วยมากขึ้น ควรดำเนินการให้เกิดความร่วมมือของครูพี่เลี้ยงเด็กและผู้ปกครองในการคัดกรองอาการเด็กหากมีอาการป่วยหรือสงสัย ให้ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและเน้นความสะอาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
๔. สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีส
สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีสประเทศไทยขอมูลเฝาระวังโรค
ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค. ๒๕๕๙ - ๑๘ ก.ย. ๕๙ พบผูปวย ๑,๓๐๕ ราย จาก
๖๑ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๑.๙๙
ตอแสนประชากร เสียชีวิต ๒๒ ราย คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๓ ตอแสนประชากร อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๒๗ กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ ๔๕ - ๕๔ ป (๑๙.๖๙ %) ๓๕ - ๔๔ ป (๑๘.๙๓ %) ๕๕ - ๖๔
ป (๑๖.๗๘ %) สัญชาติเปนไทยรอยละ ๙๘.๘ พมารอยละ ๑.๑ อื่นๆ รอยละ ๐.๑ อาชีพสวนใหญ เกษตรรอยละ ๔๙.๓
รับจางรอยละ ๒๐.๒ นักเรียนรอยละ ๑๐.๗ จังหวัด
ที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด
๕ อันดับ แรกคือ ระนอง
(๒๑.๓๙ ตอแสนประชากร) ศรีสะเกษ (๑๓.๙๗ ตอ แสนประชากร) พัทลุง (๙.๒๐ ตอแสนประชากร) นครศรี ธรรมราช (๗.๗๔
ตอแสน
ประชากร) กาฬสินธุ(๗.๑๑ ตอแสน ประชากร) ภาคที่มีอัตราปวยสูงสุด คือ ภาคใต ๔.๗๕ ตอแสน ประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓.๑๒ ตอแสนประชากร ภาคเหนือ ๑.๓๔ ตอแสนประชากร ภาคกลาง ๐.๑๑ ตอแสน ประชากรตามลําดับ
ประชากร) กาฬสินธุ(๗.๑๑ ตอแสน ประชากร) ภาคที่มีอัตราปวยสูงสุด คือ ภาคใต ๔.๗๕ ตอแสน ประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓.๑๒ ตอแสนประชากร ภาคเหนือ ๑.๓๔ ตอแสนประชากร ภาคกลาง ๐.๑๑ ตอแสน ประชากรตามลําดับ
สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีสจังหวัด
ศรีสะเกษ ระหว่างวันที่
๑ มกราคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๙ พบผู้ป่วยโรค Leptospirosis จำนวนทั้งสิ้น ๑๘๖ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑๒.๖๙
ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต
๖ ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ ๐.๔๑
อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ ๓.๒๓
อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง เท่ากับ ๕.๖๔
: ๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ
๔๕ - ๕๔ ปี (๕๔
ต่อแสนประชากร) รองลงมาคือ กลุ่มอายุ
๕๕ - ๖๔ ปี (๔๐
ต่อแสนประชากร) , กลุ่มอายุ ๓๕ - ๔๔ ปี (๓๙
ต่อแสนประชากร) , กลุ่มอายุ ๑๕ - ๒๔ ปี (๒๒
ต่อแสนประชากร) และกลุ่มอายุ ๒๕ - ๓๔
ปี (๑๙ ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ
เกษตร จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ ๑๔๓ ราย
รองลงมาคือ ข้าราชการ (๑๓ ราย) , บุคลากรสาธารณสุข
(๑๐ ราย),นักเรียน (๙ ราย) และรับจ้างกรรมกร (๔ ราย)
อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด ๕ อันดับแรก คือ อำเภอปรางค์กู่ อัตราป่วย
๒๔.๙๙ ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอขุขันธ์
(๒๔.๖๔ ต่อแสนประชากร) , อำเภออุทุมพรพิสัย (๒๑.๔๖
ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุนหาญ (๒๐.๖
ต่อแสนประชากร) และอำเภอห้วยทับทัน
(๑๙.๐๔ ต่อแสนประชากร)
จากข้อมูลดังกล่าวบ่งชี้ว่าอาชีพที่เป็นกลุ่มเสี่ยงได้แก่อาชีพเกษตรกรรม
และมีอายุมาก ซึ่งเป็นกลุ่ม ที่ภูมิคุ้มกันในร่างกายลดลงตามวัย เชื้อก่อโรคได้อาศัยอยู่ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและแหล่งน้ำในธรรมชาติ ดังนั้นหน่วยงานด้านสาธารณสุขและหน่วยงานด้านประชาสัมพันธ์ มีความจำเป็นต้องดำเนินการเฝ้าระวัง ประชาสัมพันธ์
เผยแพร่ เน้นให้ประชาชนให้มีความรู้
และปฏิบัติตัวเพื่อลดการติดเชื้อ เน้นหลังจากดำเนินกิจกรรมทางการเกษตร ที่สัมผัสแหล่งน้ำในธรรมชาติ
แล้วให้อาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาดทันที
หน่วยบริการในพื้นที่ใช้เครื่องมือในการ คัดกรองผู้ป่วยสงสัยโรคเลปโตสไปโรซีส เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการตรวจพบ และให้การรักษาอย่างทันท่วงที
เป็นการลดจำนวนผู้ป่วยได้ในระยะยาว
๕.
งานระบาดวิทยา
๕.๑ เฝ้าระวังรายงาน ๕๐๖
นับตั้งแต่
๑ –๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๙ โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ๑๐
อันดับแรก ได้แก่ ไข้ไม่ทราบสาเหตุ โรคอุจจาระร่วง ปอดบวม
ตาแดง อาหารเป็นพิษ STD(Sexual Transmitted
Disease) ไข้หวัดใหญ่
ไข้เลือดออก สุกใส และมือเท้าปาก
ตามลำดับ การส่งรายงาน ๕๐๖ ในเดือน ตุลาคม ๒๕๕๙ ภาพรวมทั้งหมดมีการส่งรายงาน ๖,๔๖๗ ราย ส่งทันเวลา ๕,๗๘๓ ความทันเวลาร้อยละ ๘๙.๔๒ จำแนกเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่มีรายงานผู้ป่วย ๒๐๗ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๘๒ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทั้งหมด ส่งข้อมูลบัตรรายงานโรคทั้งหมด ๑,๑๖๕ มีความทันเวลา ร้อยละ ๙๖.๗๐ และโรงพยาบาลที่มีรายงานผู้ป่วย ๒๓ แห่ง
คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ ของโรงพยาบาลทั้งหมด ส่งข้อมูลบัตรรายงานโรคทั้งหมด ๕,๑๒๙ มีความทันเวลาร้อยละ ๘๖.๗๐ (รายละเอียดตามภาคผนวก)