กลุ่มงานควบคุมโรค
1. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
1. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
ประเทศไทยขอมูลเฝาระวังโรค
ระหว่างวันที่ 1 ม.ค. 2559 - 12 ธ.ค. 2559 พบผูปวย 60,115 ราย จาก 77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 91.88 ตอแสนประชากร เสียชีวิต
58 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.09 ตอแสนประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง 1: 0.98
กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 15-24 ป(24.86 %) 10-14 ป (17.19 %)
25-34 ป (15.48 %) อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอยละ 43.2 รับจางรอยละ 19.1
ไมทราบอาชีพ/ในปกครอง รอยละ 18.5 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5
อันดับแรกคือ แมฮองสอน (404.64 ตอแสนประชากร) สงขลา (318.43 ตอแสนประชากร) ปตตานี (285.75 ตอแสนประชากร)
เชียงใหม (276.12 ตอแสนประชากร) พัทลุง (252.51 ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษขอมูลเฝาระวังโรค ระหว่างวันที่
1 ม.ค. 2559 - 17 ธ.ค. 2559
พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 1211 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 82.65 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 2 ราย
ที่อำเภออำเภอขุขันธ์
และอำเภอวังหิน อำเภอละ 1 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.14 อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ 0.17 เป็นลำดับที่ 31
ของจังหวัดที่พบอัตราป่วยสูงสุด
กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ กลุ่มอายุ 5 - 9
ปี (143.29 ต่อแสนประชากร) รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 10 - 14
ปี (138.07 ต่อแสนประชากร)
อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ
นักเรียน 309 ราย
รองลงมาคือ เกษตรกร (107 ราย) , บุคลากรสาธารณสุข
(73 ราย) , ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง
(67 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุด 5
อันดับแรก คือ อำเภอกันทรลักษ์อัตราป่วย 75.77
ต่อแสนประชากร
รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ (58.99 ต่อแสนประชากร) , อำเภอปรางค์กู่ (55.87
ต่อแสนประชากร),อำเภอราษีไศล (53.03 ต่อแสนประชากร) และอำเภอกันทรารมย์
(50.97 ต่อแสนประชากร) ข้อมูลผู้ป่วยในเดือนกันยายน-ต้นเดือนธันวาคม
ที่ผ่านมา จะพบว่าจำนวนผู้ป่วยลดลงแต่ยังใกล้เคียงกับค่ากลาง (Median)
ซึ่งถือว่ายังมีโอกาสเกิดการระบาดอยู่
จำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังสถานการณ์โรคอย่างเข้มข้นเพราะปลายฤดูฝน ยังมีน้ำขังในภาชนะต่างๆ เป็นแหล่งแพร่พันธุ์ของยุงลาย
ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษจึงขอความร่วมมือทุกหน่วยงาน รวมทั้งประชาชน
ร่วมมือกัน ดูแลสภาพแวดล้อมและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน ชุมชน ทำให้ วัด โรงเรียนและหน่วยงานปลอดลูกน้ำยุงลาย และขอขอบคุณทุกหน่วยงานที่ส่งผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
2. สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
สถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสซิกาในประเทศไทย
ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค.- 30
พ.ย. 2559 พบผู้ป่วยแล้ว
560 ราย ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา พบผู้ป่วยรายใหม่ 42 ราย แนวโน้มผู้ป่วยแต่ละสัปดาห์คงที่ใกล้เคียงกัน
ซึ่งสามารถควบคุมโรคได้โดยพบผู้ป่วยในบางอำเภอ บางจังหวัดเท่านั้น จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2559 ยังไม่พบการ
ติดเชื้อไวรัสซิกา
560 ราย ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา พบผู้ป่วยรายใหม่ 42 ราย แนวโน้มผู้ป่วยแต่ละสัปดาห์คงที่ใกล้เคียงกัน
ซึ่งสามารถควบคุมโรคได้โดยพบผู้ป่วยในบางอำเภอ บางจังหวัดเท่านั้น จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2559 ยังไม่พบการ
ติดเชื้อไวรัสซิกา
การเฝ้าระวังในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ เน้นการค้นหาโดยใช้รหัสวินิจฉัย
ให้หน่วยบริการทำการค้นหา เดือนละ 1 ครั้ง
ดังแสดงในตาราง
ลำดับ
|
รหัสวินิฉัย
|
ชื่อโรค
|
1
|
A90
|
Dengue
Fever
|
2
|
B05
|
Measles
|
3
|
B06
|
Rubella
|
4
|
B09
|
Viral
Examthem
|
5
|
U06.9
|
Zika
Fever
|
6
|
R21
|
Maculopapular
Rash
|
7
|
Q02
|
Microcephaly
|
หากพบผู้ป่วยในระบบบันทึกข้อมูลที่สถานบริการตามรหัสการวินิจฉัย
หน่วยบริการทำการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏบัติการและดำเนินการตามระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค สามารถติดตามศึกษาแนวทางเพิ่มเติมได้ที่ http://203.157.15.110/boe/zika.php หัวข้อแนวทาง/มาตรการ
3.
สถานการณ์โรคมือเท้าปาก
ประเทศไทยขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. 2559 - 12 ธ.ค. 2559 พบผูปวย 76848 ราย จาก
77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 117.46 ตอ แสนประชากร เสียชีวิต 2 ราย อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง 1 :0.73
กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 1 ป (27.20 %) 2 ป (24.83 %) 3 ป (18.76 %) อาชีพสวนใหญ
ไมทราบอาชีพ/ในปกครอง รอยละ 87.9 นักเรียน รอยละ 10.5 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ นาน (299.23 ตอแสนประชากร) สระบุรี(296.59 ตอแสนประชากร) เชียงราย (275.58 ตอแสนประชากร) ระยอง (269.33 ตอแสนประชากร) พิษณุโลก (241.53 ตอแสนประชากร)
77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 117.46 ตอ แสนประชากร เสียชีวิต 2 ราย อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง 1 :0.73
กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 1 ป (27.20 %) 2 ป (24.83 %) 3 ป (18.76 %) อาชีพสวนใหญ
ไมทราบอาชีพ/ในปกครอง รอยละ 87.9 นักเรียน รอยละ 10.5 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ นาน (299.23 ตอแสนประชากร) สระบุรี(296.59 ตอแสนประชากร) เชียงราย (275.58 ตอแสนประชากร) ระยอง (269.33 ตอแสนประชากร) พิษณุโลก (241.53 ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษไทยขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. 2559 - 17 ธ.ค. 59
พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 1226 ราย
คิดเป็นอัตราป่วย 83.68 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต
อัตราส่วน เพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 1.49 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ
0 - 4 ปี (1319.05 ต่อแสนประชากร)
รองลงมาคือ
กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี (57.53 ต่อแสนประชากร) , กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี (11.25 ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 1159 ราย รองลงมาคือ นักเรียน (52 ราย) , อื่นๆ (7 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอโนนคูณอัตราป่วย 209.19 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ (171.35 ต่อแสนประชากร), อำเภอไพรบึง (143.28 ต่อแสนประชากร) , อำเภอเบญจลักษ์ (132.89 ต่อแสนประชากร) และอำเภอบึงบูรพ์ (121.39 ต่อแสนประชากร)
กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี (57.53 ต่อแสนประชากร) , กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี (11.25 ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 1159 ราย รองลงมาคือ นักเรียน (52 ราย) , อื่นๆ (7 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอโนนคูณอัตราป่วย 209.19 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ (171.35 ต่อแสนประชากร), อำเภอไพรบึง (143.28 ต่อแสนประชากร) , อำเภอเบญจลักษ์ (132.89 ต่อแสนประชากร) และอำเภอบึงบูรพ์ (121.39 ต่อแสนประชากร)
จากข้อมูลผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นและส่วนใหญ่เป็นเด็กโดยเฉพาะเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในช่วงต้นฤดูหนาวจะพบผู้ป่วยมากขึ้น
ควรดำเนินการให้เกิดความร่วมมือของครูพี่เลี้ยงเด็กและผู้ปกครองในการคัดกรองอาการเด็กหากมีอาการป่วยหรือสงสัย
ให้ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและเน้นความสะอาด และการดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคลในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
4.
สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซีส
ประเทศไทย ขอมูลเฝาระวังโรค ระหว่างวันที่ 1 ม.ค. 2559 - 9 ธ.ค. 2559 พบผูปวย 2121 ราย จาก
67 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 3.24 ตอแสน ประชากร เสียชีวิต 31 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.05 ตอแสน ประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง 1: 0.25 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 45-54 ป (20.89 %) 35 - 44 ป (19.05 %) 55 - 64 ป (16.78 %) อาชีพสวนใหญ เกษตร รอยละ 50.3 รับจาง รอยละ 19.3 นักเรียน รอยละ 10.8 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ ระนอง (30.72 ตอแสนประชากร) ศรีสะเกษ (24.20
ตอแสนประชากร) กาฬสินธุ(14.92 ตอแสนประชากร) พัทลุง (11.89 ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (11.29
ตอแสนประชากร)
67 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 3.24 ตอแสน ประชากร เสียชีวิต 31 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.05 ตอแสน ประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง 1: 0.25 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 45-54 ป (20.89 %) 35 - 44 ป (19.05 %) 55 - 64 ป (16.78 %) อาชีพสวนใหญ เกษตร รอยละ 50.3 รับจาง รอยละ 19.3 นักเรียน รอยละ 10.8 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ ระนอง (30.72 ตอแสนประชากร) ศรีสะเกษ (24.20
ตอแสนประชากร) กาฬสินธุ(14.92 ตอแสนประชากร) พัทลุง (11.89 ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (11.29
ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ระหว่างวันที่ 1 ม.ค. 2559 - 17 ธ.ค. 2559 พบผู้ป่วย จำนวนทั้งสิ้น 352 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 24.02
ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 8
ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน
เท่ากับ 0.55 อัตราผู้ป่วยตาย
ร้อยละ 2.27 เป็นลำดับที่ 2
ของจังหวัดที่พบอัตราป่วยสูงสุด
เพศชายป่วยมากกว่าเพศหญิง กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ 45 -
54 ปี
(100 ต่อแสนประชากร) รองลงมาคือ 35 - 44 ปี
(77 ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ เกษตร จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 264 ราย รองลงมาคือ อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอภูสิงห์ อัตราป่วย 50.73 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอพยุห์ (47.1 ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุขันธ์ (45.94 ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุนหาญ (43.07 ต่อแสนประชากร) และอำเภอปรางค์กู่ (42.64 ต่อแสนประชากร)
(77 ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ เกษตร จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 264 ราย รองลงมาคือ อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอภูสิงห์ อัตราป่วย 50.73 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอพยุห์ (47.1 ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุขันธ์ (45.94 ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุนหาญ (43.07 ต่อแสนประชากร) และอำเภอปรางค์กู่ (42.64 ต่อแสนประชากร)
จากข้อมูลดังกล่าวบ่งชี้ว่าอาชีพที่เป็นกลุ่มเสี่ยงได้แก่อาชีพเกษตรกรรม
และมีอายุอยู่ในวัยทำงาน ช่วงนี้เป็นหน้าเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร กิจกรรมไปสัมผัสเชื้อก่อโรคได้ตามแหล่งน้ำในธรรมชาติ
ขอให้หน่วยงานด้านสาธารณสุขและหน่วยงานด้านประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ลดการติดเชื้อโรค
หากป่วยเข้ารักษาอย่างรวดเร็ว