1. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
ประเทศไทย ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. - 13 มี.ค. 2560 พบผูปวย 6,008 ราย จาก 77
จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 9.18 ตอแสน ประชากร เสียชีวิต 6 ราย คิดเปนอัตราตาย
0.01 ตอแสน
ประชากร อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.10 อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง 1: 0.97 กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ 15-24 ป (25.52 %) 10-14 ป (20.14 %) 25-34 ป (14.86 %) อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอยละ 47.3 รับจางรอยละ 18.6 ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ 17.8 จังหวัดที่มีอัตรา
ปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ สงขลา (108.26 ตอแสนประชากร) ปตตานี (76.51 ตอแสน
ประชากร) พัทลุง (73.62 ตอแสนประชากร) นราธิวาส (64.83 ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (27.80 ตอแสน ประชากร)
ประชากร อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.10 อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง 1: 0.97 กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ 15-24 ป (25.52 %) 10-14 ป (20.14 %) 25-34 ป (14.86 %) อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอยละ 47.3 รับจางรอยละ 18.6 ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ 17.8 จังหวัดที่มีอัตรา
ปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ สงขลา (108.26 ตอแสนประชากร) ปตตานี (76.51 ตอแสน
ประชากร) พัทลุง (73.62 ตอแสนประชากร) นราธิวาส (64.83 ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (27.80 ตอแสน ประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. - 21 มี.ค. 2560 พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น 45 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 3.09 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 1.50 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ
15 - 24 ปี (17 ราย)
รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี (13 ราย), กลุ่มอายุ
65 + ปี (3 ราย), กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี (3 ราย) และกลุ่มอายุ 35 - 44 ปี (3 ราย)
อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ นักเรียน
จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 21 ราย รองลงมาคือ
เกษตร (10
ราย) , ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง (8 ราย) , อื่นๆ
(2 ราย)
และบุคลากรสาธารณสุข (2
ราย) อำเภอ
ที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอเบญจลักษ์อัตราป่วย 8.2 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ (6.66 ต่อแสนประชากร), อำเภอไพรบึง (6.26 ต่อแสนประชากร) ,
อำเภอเมืองจันทร์ (5.59 ต่อแสนประชากร) และอำเภอยางชุมน้อย (5.42 ต่อแสนประชากร)
ที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอเบญจลักษ์อัตราป่วย 8.2 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอขุนหาญ (6.66 ต่อแสนประชากร), อำเภอไพรบึง (6.26 ต่อแสนประชากร) ,
อำเภอเมืองจันทร์ (5.59 ต่อแสนประชากร) และอำเภอยางชุมน้อย (5.42 ต่อแสนประชากร)
โรคไข้เลือดออกเกิดได้ตลอดทั้งปี ช่วงนี้มีฝนตกในบางพื้นที่ จำเป็นต้องมีการลดภาชนะขังน้ำ
โดยการกำจัดขยะมูลฝอย ต่างๆ
ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบบ้านและชุมชน
ตลอดจนการเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรคอย่างเข้มข้นต่อเนื่อง
ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษจึงขอความร่วมมือจากผู้บริหารสาธารณสุขทุกหน่วยบริการ กำกับ ติดตาม
เจ้าหน้าที่ในข่ายงานเฝ้าระวังโรคติดต่อร่วมกับประชาชน
ร่วมมือกันดูแลสภาพแวดล้อม และควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน
หมู่บ้าน ชุมชน ทำให้ วัด โรงเรียนและหน่วยงานปลอดลูกน้ำยุงลาย
และขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือดำเนินกิจกรรมป้องกันควบคุมโรคด้วยดีมาโดยตลอด
2. การเฝ้าระวังโรคพิษสุนัขบ้า
สถานการณ์ของโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัดศรีสะเกษ พบผู้ป่วยในปี 2558 จำนวน 2 ราย ปี 2559 จำนวน 1 ราย ผู้ป่วยทุกรายเสียชีวิต และเนื่องจากว่าเป็นโรคที่มีอัตราป่วยตายร้อยละ
100 จึงมีความจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังในกลุ่มผู้ที่สัมผัสสัตว์ที่มีอาการป่วยหรือสัตว์ที่อาจเป็นแหล่งโรคที่อาจทำให้ประชาชนติดเชื้อป่วยและเสียชีวิตได้
ในการนี้ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
จึงขอความร่วมมือจากหน่วยงานด้านการประชาสัมพันธ์ได้ให้ความรู้ประชาชนผ่านสื่อต่างๆ เน้นให้ประชาชนที่ถูกสนัขกัด เลีย ข่วน
อย่านิ่งนอนใจให้ไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้ที่โรงพยาบาลชุมชนในพื้นที่ที่ตนอาศัยอยู่
และประชาสัมพันธ์ปลูกจิตสำนึกของประชาชนในการเลี้ยงสัตว์แบบมีความรับผิดชอบต่อสังคม หากจะเลี้ยงสุนัข หมา แมว ต้องมีความพร้อมและพาให้สัตว์เลี้ยงไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า เพื่อเป็นการลดแหล่งโรคและลดผู้สัมผัสเชื้อ
เพื่อเป็นการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.
สถานการณ์โรคมือเท้าปาก
ประเทศไทย ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. - 13 มี.ค. 2560 พบผูป่วย 11,613 ราย จาก 77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 17.75 ตอแสนประชากร เสียชีวิต 1
ราย อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง
1: 0.74 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 1 ป (25.73 %) 2 ป (23.13 %) 3 ป (18.30 %)
อาชีพสวนใหญ ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ 86.5 นักเรียนรอยละ 12.1 อื่นๆรอยละ 0.6 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสน ประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ สุราษฎรธานี(54.24 ตอแสนประชากร) จันทบุรี(52.91 ตอแสนประชากร) เลย (48.85 ตอแสน ประชากร) ลําปาง (39.59 ตอแสนประชากร) แมฮองสอน (37.55 ตอแสนประชากร)
1: 0.74 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 1 ป (25.73 %) 2 ป (23.13 %) 3 ป (18.30 %)
อาชีพสวนใหญ ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ 86.5 นักเรียนรอยละ 12.1 อื่นๆรอยละ 0.6 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสน ประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ สุราษฎรธานี(54.24 ตอแสนประชากร) จันทบุรี(52.91 ตอแสนประชากร) เลย (48.85 ตอแสน ประชากร) ลําปาง (39.59 ตอแสนประชากร) แมฮองสอน (37.55 ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. - 21 มี.ค. 2560
พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 45 ราย
คิดเป็นอัตราป่วย 31.90 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง เท่ากับ 1.55 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ
0 - 4 ปี (423 ราย) รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี
(35 ราย) , กลุ่มอายุ
10 - 14 ปี (3 ราย) , กลุ่มอายุ 45 -
54 ปี (2
ราย) และกลุ่มอายุ
25 - 34 ปี (1 ราย) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 430 ราย รองลงมาคือ นักเรียน (25 ราย) , อื่นๆ (7 ราย) , เกษตร (1 ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (1 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอเมืองจันทร์อัตราป่วย 122.95 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอห้วยทับทัน (120.06 ต่อแสนประชากร) , อำเภอกันทรารมย์ (82.59 ต่อแสนประชากร) , อำเภอบึงบูรพ์ (73.81 ต่อแสนประชากร) และอำเภอยางชุมน้อย (73.20 ต่อแสนประชากร)
25 - 34 ปี (1 ราย) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 430 ราย รองลงมาคือ นักเรียน (25 ราย) , อื่นๆ (7 ราย) , เกษตร (1 ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (1 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอเมืองจันทร์อัตราป่วย 122.95 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอห้วยทับทัน (120.06 ต่อแสนประชากร) , อำเภอกันทรารมย์ (82.59 ต่อแสนประชากร) , อำเภอบึงบูรพ์ (73.81 ต่อแสนประชากร) และอำเภอยางชุมน้อย (73.20 ต่อแสนประชากร)
จากข้อมูลผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นและส่วนใหญ่เป็นเด็กโดยเฉพาะเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เจ้าหน้าที่สาธารณสุขควรดำเนินการให้เกิดความร่วมมือของครูพี่เลี้ยงเด็กและผู้ปกครองในการคัดกรองอาการเด็กหากมีอาการป่วยหรือสงสัย
ให้ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและเน้นความสะอาด
และการดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคลทั้งที่บ้านและในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
4. เลปโตสไปโรซีส
ประเทศไทย ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. - 10 มี.ค. 2560 พบผูปวย 426 ราย จาก
45 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 0.65 ตอแสน ประชากร เสียชีวิต 13 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.02 ตอแสน
ประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง 1: 0.32 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 35-44 ป (22.07 %) 45-54 ป (19.72 %) 25-34 ป (17.14 %) อาชีพสวนใหญ เกษตรรอยละ 45.1 รับจาง รอยละ 26.5 นักเรียนรอยละ 8.9 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับแรกคือ นครศรีธรรมราช (5.22 ตอแสนประชากร)กระบี่ (5.22 ตอแสนประชากร)ศรีสะเกษ (4.50 ตอแสนประชากร) พัทลุง (4.41 ตอแสน ประชากร) ตรัง (4.06 ตอแสนประชากร)
45 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 0.65 ตอแสน ประชากร เสียชีวิต 13 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.02 ตอแสน
ประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง 1: 0.32 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 35-44 ป (22.07 %) 45-54 ป (19.72 %) 25-34 ป (17.14 %) อาชีพสวนใหญ เกษตรรอยละ 45.1 รับจาง รอยละ 26.5 นักเรียนรอยละ 8.9 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับแรกคือ นครศรีธรรมราช (5.22 ตอแสนประชากร)กระบี่ (5.22 ตอแสนประชากร)ศรีสะเกษ (4.50 ตอแสนประชากร) พัทลุง (4.41 ตอแสน ประชากร) ตรัง (4.06 ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. - 21 มี.ค. 2560 พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น 77 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 5.28 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 1 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.07 อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ 1.30
อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง เท่ากับ 3.53 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ
35 - 44 ปี (20 ราย)
รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 45 - 54 ปี (19 ราย) , กลุ่มอายุ
55 - 64 ปี (13 ราย) , กลุ่มอายุ
25 - 34 ปี (9 ราย) และกลุ่มอายุ 65
+ ปี
(8 ราย) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ เกษตร จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 59 ราย รองลงมาคือ ข้าราชการ (5 ราย) , อื่นๆ (4 ราย) , บุคลากรสาธารณสุข (3 ราย) และนักเรียน (2 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอขุนหาญอัตราป่วย 27.6 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอไพรบึง (12.53 ต่อแสนประชากร) , อำเภอภูสิงห์ (10.38 ต่อแสนประชากร) , อำเภอศิลาลาด (9.5 ต่อแสนประชากร) และอำเภอปรางค์กู่ (8.8 ต่อแสนประชากร)
(8 ราย) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ เกษตร จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 59 ราย รองลงมาคือ ข้าราชการ (5 ราย) , อื่นๆ (4 ราย) , บุคลากรสาธารณสุข (3 ราย) และนักเรียน (2 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอขุนหาญอัตราป่วย 27.6 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอไพรบึง (12.53 ต่อแสนประชากร) , อำเภอภูสิงห์ (10.38 ต่อแสนประชากร) , อำเภอศิลาลาด (9.5 ต่อแสนประชากร) และอำเภอปรางค์กู่ (8.8 ต่อแสนประชากร)
กลุ่มเสี่ยงโรคดังกล่าวประกอบอาชีพเกษตรกรรม
และมีอายุอยู่ในวัยทำงาน
ในช่วงนี้จะมีการดำเนิน กิจกรรมของกลุ่มอาชีพสูบสระ ล่าหนู หาปลา
ที่มีโอกาสไปสัมผัสเชื้อก่อโรคได้ตามแหล่งน้ำในธรรมชาติ
ขอให้หน่วยงานด้านสาธารณสุขและหน่วยงานด้านประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ลดการติดเชื้อ
หากมีอาการตั้งแต่เริ่มป่วยให้เข้ารักษาอย่างรวดเร็ว
5.
งานระบาดวิทยา
5.1 เฝ้าระวังรายงาน
506
นับตั้งแต่
1 ม.ค. –21 มี.ค. 2560
โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก ได้แก่
ไข้ไม่ทราบสาเหตุ โรคอุจจาระร่วง ปอดบวม ตาแดง อาหารเป็นพิษ STD(Sexually Transmitted Diseases) ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก สุกใสและมือเท้าปาก ตามลำดับ การส่งรายงาน 506 ในเดือน มีนาคม 2560 (รายละเอียดตามภาคผนวก)
ไข้ไม่ทราบสาเหตุ โรคอุจจาระร่วง ปอดบวม ตาแดง อาหารเป็นพิษ STD(Sexually Transmitted Diseases) ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก สุกใสและมือเท้าปาก ตามลำดับ การส่งรายงาน 506 ในเดือน มีนาคม 2560 (รายละเอียดตามภาคผนวก)
5.2 ข้อมูลผู้ป่วยที่ต้องทำการสอบสวนโรค
มีผู้ป่วยที่ต้องทำการสอบสวนโรค ตามหลักเกณฑ์ของสำนักระบาด ข้อมูลเฝ้าระวังโรคติดต่อโปรแกรม R506 จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งแต่วันที่ 1 – 22 กุมภาพันธ์
2560 มีผู้ป่วยที่ต้องดำเนินการสอบสวนโรคจำนวนทั้งสิ้น 42 ราย ใน 16 อำเภอ มี 5 โรค 5 รหัสโรค ในระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ รง. 506
ที่ต้องสอบสวนโรคมากที่สุด คือ Leptospirosis จำนวน 18 ราย
รองลงมาคือไข้เลือดออก จำนวน 12
ราย ไข้สมองอักเสบ จำนวน 8
ราย