1 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
ประเทศไทย ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. – 15 พ.ค. 2560 พบผูปวย 10343 ราย จาก 77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 15.81 ตอ แสนประชากร เสียชีวิต 18 ราย คิดเปนอัตราตาย
0.03 ตอแสนประชากร อัตราป่วยตายร้อยละ 0.18
อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง 1 :0.94 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ
คือ
15-24 ป (26.66 %) 10-14 ป (19.60 %) 25-34 ป (14.91 %) อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอย ละ 46.3 รับจาง
รอยละ 19.3 ไมทราบอาชีพ/ ในปกครองรอยละ 17.9 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับแรกคือ สงขลา(142.82 ตอแสนประชากร) พัทลุง (115.80 ตอแสนประชากร) ปตตานี(97.81 ตอแสนประชากร) นราธิวาส (78.44 ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (60.96 ตอแสน ประชากร)
15-24 ป (26.66 %) 10-14 ป (19.60 %) 25-34 ป (14.91 %) อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอย ละ 46.3 รับจาง
รอยละ 19.3 ไมทราบอาชีพ/ ในปกครองรอยละ 17.9 จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับแรกคือ สงขลา(142.82 ตอแสนประชากร) พัทลุง (115.80 ตอแสนประชากร) ปตตานี(97.81 ตอแสนประชากร) นราธิวาส (78.44 ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (60.96 ตอแสน ประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ
ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. – 23 พ.ค. 2560 พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น
78 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 5.35 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราส่วนเพศชายต่อ
เพศหญิง เท่ากับ 1.44 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี (26 ราย) รองลงมาคือกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี (21 ราย), กลุ่มอายุ 0 - 4 ปี (8 ราย), กลุ่มอายุ 35 - 44 ปี (5 ราย) และกลุ่มอายุ 25 - 34 ปี (5 ราย) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ นักเรียน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 30 ราย รองลงมาคือ ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง (20 ราย) , เกษตร (18 ราย) , อื่นๆ (5 ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (3 ราย) อำเภอ
ที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คืออำเภอโนนคูณอัตราป่วย 18.06 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอเบญจลักษ์ (10.93 ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุนหาญ (9.52 ต่อแสนประชากร) , อำเภอยางชุมน้อย (8.13 ต่อแสนประชากร) และอำเภอขุขันธ์ (7.39 ต่อแสนประชากร)
78 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 5.35 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราส่วนเพศชายต่อ
เพศหญิง เท่ากับ 1.44 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี (26 ราย) รองลงมาคือกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี (21 ราย), กลุ่มอายุ 0 - 4 ปี (8 ราย), กลุ่มอายุ 35 - 44 ปี (5 ราย) และกลุ่มอายุ 25 - 34 ปี (5 ราย) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ นักเรียน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 30 ราย รองลงมาคือ ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง (20 ราย) , เกษตร (18 ราย) , อื่นๆ (5 ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (3 ราย) อำเภอ
ที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คืออำเภอโนนคูณอัตราป่วย 18.06 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอเบญจลักษ์ (10.93 ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุนหาญ (9.52 ต่อแสนประชากร) , อำเภอยางชุมน้อย (8.13 ต่อแสนประชากร) และอำเภอขุขันธ์ (7.39 ต่อแสนประชากร)
โรคไข้เลือดออกเกิดได้ตลอดทั้งปี ช่วงนี้มีฝนตกในทุกพื้นที่ จำเป็นต้องมีการลดภาชนะขังน้ำ โดยการกำจัดขยะมูลฝอยต่างๆ ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบบ้านและชุมชนตลอดจนการเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรคอย่างเข้มข้นต่อเนื่อง
ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษจึงขอความร่วมมือท่านผู้บริหารสาธารณสุขกำกับติดตามการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่และส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความร่วมมือในการดูแลสภาพแวดล้อม
และควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน
หมู่บ้าน ชุมชน ทำให้ วัด โรงเรียนและหน่วยงานปลอดลูกน้ำยุงลาย
และขอขอบคุณทุกหน่วยงานด้านสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือด้วยดีมาโดยตลอด
2. สถานการณ์โรคสุกใส
ประเทศไทย ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. – 14 พ.ค. 2560 พบผูปวย 32267 ราย จาก 77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 49.32 ตอแสนประชากร อัตราสวน
เพศชายตอเพศหญิง 1: 1.00 กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ 15-24 ป (15.78 %) 7-9 ป (15.62 %) 10-14 ป (15.38 %) อาชีพสวนใหญ นักเรียนรอยละ 44.4 ไมทราบอาชีพ/ใน
ปกครองรอยละ 33.3 รับจางรอยละ 13.6 จังหวัดที่มีอัตราปวย ตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ นาน (142.83 ตอแสนประชากร) ภูเก็ต (129.94
ตอ แสนประชากร) เชียงราย (112.57 ตอแสนประชากร)
ระยอง (89.78 ตอแสนประชากร) ลําปาง (83.17 ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. – 23 พ.ค. 2560 พบผู้ป่วย 1005 ราย
คิดเป็นอัตราป่วย 68.94 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย เท่ากับ 1.03 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 5 - 9
ปี (334 ราย)
รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 0 - 4 ปี
(225 ราย),กลุ่มอายุ 10-14 ปี (168 ราย) , กลุ่มอายุ 15 - 24
ปี (152 ราย) และกลุ่มอายุ 25 -
34 ปี (75 ราย)
อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ นักเรียน
จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 455 ราย
รองลงมาคือ ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง
(324 ราย) , เกษตร
(81 ราย) , อื่นๆ
(65 ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (41 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ
อำเภอบึงบูรพ์ อัตราป่วย 276.8 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ (154.11 ต่อแสนประชากร) , อำเภอไพรบึง (144.07 ต่อแสนประชากร) , อำเภอเบญจลักษ์ (120.28 ต่อแสนประชากร) และอำเภอยางชุมน้อย (111.17 ต่อแสนประชากร)
อำเภอบึงบูรพ์ อัตราป่วย 276.8 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ (154.11 ต่อแสนประชากร) , อำเภอไพรบึง (144.07 ต่อแสนประชากร) , อำเภอเบญจลักษ์ (120.28 ต่อแสนประชากร) และอำเภอยางชุมน้อย (111.17 ต่อแสนประชากร)
จากสถานการณ์ผู้ป่วยทั้งจังหวัดศรีสะเกษ
พบผู้ป่วยสูงขึ้นตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ และสูงสุดในเดือนมีนาคม 2560 เริ่มลดลงในเดือน เมษายน 2560 แต่ยังพบผู้ป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐาน
5 ปี ย้อนหลัง ซึ่งถือว่าเกิดการระบาดของโรคในพื้นที่ตั้งแต่ต้นปี
2560 จนถึงปัจจุบัน
ดังนั้นจึงขอความร่วมมือจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเฝ้าระวังและดำเนินการตามหลักการเฝ้าระวังควบคุมโรคเน้นการสอบสวนโรคและให้ความรู้ในการดูแลตนเองทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแล
เพื่อลดการติดเชื้อและควบคุมการระบาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.
สถานการณ์โรคมือเท้าปาก
ประเทศไทย ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. – 14 พ.ค. 2560 พบผูป่วย 17949 ราย จาก
77 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 27.43 ตอ แสนประชากร เสียชีวิต 1 ราย อัตราสวน
เพศชายตอเพศหญิง 1: 0.74
กลุม อายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ
คือ 1 ป (27.07 %) 2 ป (23.46 %) 3 ป (17.33 %)
จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับ แรกคือ จันทบุรี(88.81
ตอแสนประชากร) ตราด (81.91 ตอแสนประชากร)
สุราษฎรธานี(72.83 ตอแสนประชากร) เลย (68.17 ตอแสนประชากร) แมฮองสอน (50.20
ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 23 พ.ค. 2560 พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น
527 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 36.15
ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราส่วนเพศชายต่อ เพศหญิง เท่ากับ 1.55 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 0 - 4
ปี (480 ราย)
รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี (36 ราย), กลุ่มอายุ 10 - 14
ปี (6 ราย), กลุ่มอายุ
45 - 54 ปี (2 ราย) และกลุ่มอายุ 25 -
34 ปี (1
ราย)
อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ
ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง
จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 486 ราย
รองลงมาคือ นักเรียน (31 ราย) , อื่นๆ (5 ราย) , เกษตร (2 ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (2 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก
คือ อำเภอห้วยทับทันอัตราป่วย 129.67
ต่อแสนประชากร
รองลงมาคืออำเภอเมืองจันทร์ (128.54 ต่อแสนประชากร) , อำเภอกันทรารมย์ (85.54
ต่อแสนประชากร) , อำเภอยางชุมน้อย (73.20
ต่อแสนประชากร) และอำเภอบึงบูรพ์
(55.36 ต่อแสนประชากร)
จากข้อมูลผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นและส่วนใหญ่เป็นเด็กโดยเฉพาะเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
จะเห็นได้ว่าข้อมูลผู้ป่วยเดือนปัจจุบันผู้ป่วยลดลง เนื่องจากการปิดเทอมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และคาดว่าข้อมูลผู้ป่วยเดือนมิถุนายน มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
เมื่อดูแนวโน้มผู้ป่วยค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง ดังนั้น
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขควรดำเนินการให้เกิดการดำเนินงานตามศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคเป็นแนวทางในการพัฒนาเพื่อเฝ้าระวังโรคติดต่อ
สนับสนุนให้ครูพี่เลี้ยงเด็กและผู้ปกครองให้การคัดกรองอาการเด็กหากมีอาการป่วยหรือสงสัย
ให้เน้นการแจ้งข่าวมายังเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อตรวจสอบและดำเนินการให้ผู้มีอาการได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว
ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเน้นความสะอาด
และการดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคลทั้งที่บ้านและในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
4. เลปโตสไปโรซีส
ประเทศไทย
ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. - 14 พ.ค. 2560 พบผูปวย 702 ราย จาก 56 จังหวัด คิดเปนอัตราปวย 1.07 ตอแสน ประชากร เสียชีวิต 19 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.03 ตอแสนประชากร อัตราสวนเพศชาย
ตอเพศหญิง 1: 0.32 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 45-54 ป (19.52 %) 35-44 ป (19.37 %)
25-34 ป (16.81 %) อาชีพสวนใหญ เกษตรรอยละ 44.0 รับจางรอยละ 26.8 นักเรียน รอยละ 8.8 จังหวัดที่มีอัตรา
ปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับแรกคือ นครศรีธรรมราช (8.32 ตอแสนประชากร) กระบี่ (7.62 ตอแสนประชากร) ศรีสะเกษ (7.23 ตอแสนประชากร) ตรัง (5.47 ตอแสนประชากร) พัทลุง (4.22 ตอแสนประชากร)
ตอเพศหญิง 1: 0.32 กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ 45-54 ป (19.52 %) 35-44 ป (19.37 %)
25-34 ป (16.81 %) อาชีพสวนใหญ เกษตรรอยละ 44.0 รับจางรอยละ 26.8 นักเรียน รอยละ 8.8 จังหวัดที่มีอัตรา
ปวยตอแสนประชากรสูงสุด 5 อันดับแรกคือ นครศรีธรรมราช (8.32 ตอแสนประชากร) กระบี่ (7.62 ตอแสนประชากร) ศรีสะเกษ (7.23 ตอแสนประชากร) ตรัง (5.47 ตอแสนประชากร) พัทลุง (4.22 ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. – 23 พ.ค. 2560 พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น 106 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 7.27 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 1 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.07 อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ 0.94
อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง
เท่ากับ 4.89 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 45
- 54 ปี (26 ราย)
รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 35 - 44 ปี (25 ราย) , กลุ่มอายุ
55 - 64 ปี (19 ราย) , กลุ่มอายุ
25 - 34 ปี (14 ราย) และกลุ่มอายุ 65 ปีขึ้นไป (12
ราย) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือเกษตร จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 79 ราย
รองลงมาคือข้าราชการ (7 ราย) , อื่นๆ
(7 ราย), รับจ้าง,กรรมกร (4 ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (3 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ
อำเภอขุนหาญอัตราป่วย 34.26 ต่อแสนประชากร รองลงมาคืออำเภอไพรบึง (14.62
ต่อแสนประชากร) , อำเภอภูสิงห์ (14.53
ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุขันธ์ (14.11
ต่อแสนประชากร) และอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ (12.5
ต่อแสนประชากร)
กลุ่มเสี่ยงโรคดังกล่าวประกอบอาชีพเกษตรกรรม
และมีอายุอยู่ในวัยทำงาน
ในช่วงนี้จะมีการดำเนิน กิจกรรมทางการเกษตร ทำนา ทำไร่
ที่มีโอกาสไปสัมผัสเชื้อก่อโรคได้ตามแหล่งน้ำในธรรมชาติ
ขอให้หน่วยงานด้านสาธารณสุขและหน่วยงานด้านประชาสัมพันธ์
ให้ความรู้ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ลดการติดเชื้อ
หากมีอาการตั้งแต่เริ่มป่วยให้เข้ารักษาอย่างรวดเร็ว