ระเบียบวาระการประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุขันธ์
วันที่ 10 มกราคม 2561
ณ ห้องประชุมอาคารส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุขันธ์
๑. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
ประเทศไทย
ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค.
– ๑๘ ธ.ค. ๒๕๖๐ พบผูปวย ๕๐,๙๑๔ ราย จาก ๗๗ จังหวัด
คิดเปนอัตราปวย ๗๗.๘๒ ตอ แสนประชากร เสียชีวิต ๖๐ ราย คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๙ ตอแสนประชากร อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๙๓ กลุมอายุที่พบมากที่สุด คือ ๑๕-๒๔ ป (๒๕.๔๗ %) ๑๐-๑๔ ป (๑๘.๙๒
%) ๒๕-๓๔ ป (๑๕.๐๗ %) อาชีพสวนใหญ
นักเรียนรอยละ ๔๒.๖ รับจางรอยละ ๒๐.๓ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสน ประชากรสูงสุด ๕ อันดับ แรกคือ เพชรบุรี(๒๒๐.๔๑
ตอแสนประชากร) ตาก (๒๑๘.๖๖ ตอแสนประชากร) สงขลา (๒๑๐.๙๖ ตอแสนประชากร) ภูเก็ต (๑๙๐.๐๗
ตอแสนประชากร) พัทลุง (๑๙๐.๐๐ ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค. – ๒๕ ธ.ค.
๒๕๖๐ จำนวนทั้งสิ้น ๖๒๓
ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๔๒.๕๓ ต่อประชากรแสนคน
อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ ๑.๑๕ :
๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ ๑๐ - ๑๔
ปี (๑๕๘.๙๑ ต่อแสนประชากร) รองลงมาคือ
๕ - ๙ ปี (๑๑๕.๔๒ ต่อแสนประชากร) ๑๕ - ๒๔ ปี (๘๐.๖๔
ต่อแสนประชากร) ๐ - ๔ ปี (๔๕.๗๗
ต่อแสนประชากร) และ ๒๕ - ๓๔ ปี (๒๐.๐๔
ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ นักเรียน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ ๒๙๐ ราย
รองลงมาคือ ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง
(๑๒๗ ราย) เกษตรกร (๑๑๔
ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (๒๓ ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด ๕ อันดับแรก
คือ ขุนหาญอัตราป่วย ๘๐.๑๑
ต่อแสนประชากร รองลงมาคือ ยางชุมน้อย
(๗๗.๔๔ ต่อแสนประชากร)
ราษีไศล (๖๖.๒๗ ต่อแสนประชากร)
เบญจลักษ์ (๖๕.๖๑ ต่อแสนประชากร) และ น้ำเกลี้ยง (๖๐.๑๑ ต่อแสนประชากร โรคไข้เลือดออกเกิดได้ตลอดทั้งปี หมู่บ้านที่พบผู้ป่วยรายใหม่ ให้ควบคุมโรคตามแนวทางด้านสาธารณสุข เพื่อไม่ให้เกิดผู้ป่วยเพิ่มเติม ส่วนหมู่บ้านที่พบผู้ป่วย ๒ รายขึ้นไปใน ๒๘ วัน ต้องทำการควบคุมโรคอย่างเข้มข้นเพื่อควบคุมการระบาดของโรค รายชื่อหมู่บ้านต้องควบคุมโรคเข้มข้น จำนวน ๒ หมู่บ้าน ได้แก่
เบญจลักษ์ (๖๕.๖๑ ต่อแสนประชากร) และ น้ำเกลี้ยง (๖๐.๑๑ ต่อแสนประชากร โรคไข้เลือดออกเกิดได้ตลอดทั้งปี หมู่บ้านที่พบผู้ป่วยรายใหม่ ให้ควบคุมโรคตามแนวทางด้านสาธารณสุข เพื่อไม่ให้เกิดผู้ป่วยเพิ่มเติม ส่วนหมู่บ้านที่พบผู้ป่วย ๒ รายขึ้นไปใน ๒๘ วัน ต้องทำการควบคุมโรคอย่างเข้มข้นเพื่อควบคุมการระบาดของโรค รายชื่อหมู่บ้านต้องควบคุมโรคเข้มข้น จำนวน ๒ หมู่บ้าน ได้แก่
๑) อำเภอ
กันทรลักษ์ ตำบลเสาธงชัย บ้านโนนเจริญ
๒) อำเภอ
ขุนหาญ ตำบลบักดอง บ้านตำหนักไทร
ทั้งนี้ควรดำเนินการควบคุมโรคอย่างเข้มข้นตลอดจนการเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรคอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษจึงขอความร่วมมือท่านผู้บริหารสาธารณสุขกำกับติดตามการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่และส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความร่วมมือในการดูแลสภาพแวดล้อม
และควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน
หมู่บ้าน ชุมชน ทำให้ วัด โรงเรียนและหน่วยงานปลอดลูกน้ำยุงลาย
และลงบันทึกข้อมูลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย
ที่เว็บไซต์สำนักงานสาธารณสุข
จังหวัด ศรีสะเกษ
http://๒๐๓.๑๕๗.๑๖๕.๑๑๕/r๕๐๖/bicihi.php โดยลงบันทึกทุกหมู่บ้าน สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง ขอให้
ท่านผู้บริหารงานสาธารณสุขกำกับติดตามให้ลงบันทึกในทุกหมู่บ้าน
เพื่อดำเนินการควบคุมกำกับติดตามการเกิดโรคอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
๒. สถานการณ์โรคมือเท้าปาก
ประเทศไทย ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค. – ๑๗ ธ.ค. ๒๕๖๐ พบผูป่วย ๖๘,๙๖๒ รายจาก ๗๗ จังหวัด
คิดเปนอัตราปวย ๑๐๕.๔๐ ตอ แสนประชากร เสียชีวิต ๓ ราย อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง ๑: ๐.๘๐
กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ ๑ ป (๒๕.๗๗ %) ๒ ป (๒๓.๘๒ %)
๓ ป (๑๘.๑๐ %) อาชีพสวนใหญ
ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ ๘๖.๔ นักเรียน รอยละ ๑๑.๙ อื่นๆรอยละ ๐.๙
จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสน
ประชากรสูงสุด ๕ อันดับ แรกคือ จันทบุรี(๓๑๐.๘๕ ตอแสน
ประชากร) สุราษฎรธานี (๒๓๖.๘๙ ตอแสนประชากร) ตราด (๒๑๙.๗๔ ตอแสนประชากร) พะเยา (๑๘๓.๘๕ ตอแสนประชากร) พิษณุโลก (๑๘๓.๐๐ ตอแสน ประชากร)
ประชากร) สุราษฎรธานี (๒๓๖.๘๙ ตอแสนประชากร) ตราด (๒๑๙.๗๔ ตอแสนประชากร) พะเยา (๑๘๓.๘๕ ตอแสนประชากร) พิษณุโลก (๑๘๓.๐๐ ตอแสน ประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ
ขอมูลเฝาระวังโรคตั้งแต่วันที่ ๑
ม.ค. – ๒๕ ธ.ค. ๒๕๖๐
พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น ๑๓๙๙ ราย
คิดเป็นอัตราป่วย ๙๕.๕๐ ต่อประชากรแสนคน
ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต
อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง
เท่ากับ ๑.๔๐ : ๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ ๐ - ๔
ปี (๑๕๒๓.๕๖ ต่อแสนประชากร) รองลงมาคือ๕ - ๙ ปี
(๑๑๔.๓๑ ต่อแสนประชากร) ๑๐ -
๑๔ ปี (๑๘.๓๘ ต่อแสนประชากร) ๑๕ - ๒๔ ปี (๓.๑๗ ต่อแสนประชากร) และ ๔๕ - ๕๔ ปี (๐.๙๒ ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ
ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ ๑๒๘๙ ราย รองลงมาคือ นักเรียน (๘๗ ราย) อื่นๆ(๑๕ ราย) เกษตร (๓ ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (๓ ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด ๕ อันดับแรก คือ ขุนหาญ อัตราป่วย ๒๕๕.๒๑ ต่อแสนประชากร รองลงมาคือ เมืองจันทร์ (๑๖๖.๕๓ ต่อแสนประชากร)ห้วยทับทัน (๑๖๐.๘๙ ต่อแสนประชากร) ภูสิงห์ (๑๕๕.๖๘ ต่อแสนประชากร) และยางชุมน้อย (๑๔๙.๓๕ ต่อแสนประชากร)
ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ ๑๒๘๙ ราย รองลงมาคือ นักเรียน (๘๗ ราย) อื่นๆ(๑๕ ราย) เกษตร (๓ ราย) และบุคลากรสาธารณสุข (๓ ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด ๕ อันดับแรก คือ ขุนหาญ อัตราป่วย ๒๕๕.๒๑ ต่อแสนประชากร รองลงมาคือ เมืองจันทร์ (๑๖๖.๕๓ ต่อแสนประชากร)ห้วยทับทัน (๑๖๐.๘๙ ต่อแสนประชากร) ภูสิงห์ (๑๕๕.๖๘ ต่อแสนประชากร) และยางชุมน้อย (๑๔๙.๓๕ ต่อแสนประชากร)
จากจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นและส่วนใหญ่เป็นเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ขอความร่วมมือให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประสานการมีส่วนร่วมจากครูพี่เลี้ยงเด็กได้ตรวจสุขภาพเด็กประจำวันทุกวัน
หากพบมีอาการป่วยควรให้เด็กหยุดเรียน
และแนะนำให้เด็กอยู่บ้านไม่ไปเล่นกับเด็กคนอื่นในหมู่บ้านจนกว่าอาการป่วยจะหายเป็นปกติ
ผู้ปกครองและญาติ
ควรรับคำแนะนำและปฏิบัติตัวในการดูแลผู้ป่วยจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือบุคลากรทางการแพทย์
๓.โรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางการดำเนินงานตามโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า
ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และดูแลรักษาโรคในคน
แนวทางการดำเนินงานตามโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า
ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และดูแลรักษาโรคในคน
๑). วัตถุประสงค์
เพื่อติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนการดำเนินโครงการตามยุทธศาสตร์ที่
๓ และรับทราบปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปจากประเทศไทย
ภายในปี ๒๕๖๒ ระดับเขตจังหวัด และพื้นที่
๒). เป้าหมายการดำเนินงานเป้าหมาย
ปี ๒๕๖๑
๑. ผู้สัมผัสสัตว์ที่ตรวจพบเชื้อพิษสุนัขบ้าได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าตามแนวทางเวชปฏิบัติ
๑๐๐% และลดการใช้วัคซีนลง
๒. จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ๐ ราย
๓. จังหวัดศรีสะเกษเป็นจังหวัดเสี่ยง ดังนั้นทุกอำเภอจึงเป็นพื้นที่เสี่ยง
มีการดำเนินการตามแผนป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า
ตามมาตรการเชิงรุกที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด โดยมีอำเภอปลอดโรคพิษสุนัขบ้า
ในพื้นที่เสี่ยงสูง ๔ อำเภอ ได้แก่ ขุนหาญ ขุขันธ์ ไพรบึง และปรางค์กู่
(ไม่พบผู้ป่วยในคนและในสัตว์)
๔. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ทุกอำเภอ มีแผนป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ๑๐๐%
๕. มีระบบการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ
พบเห็นสัตว์ที่สงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้า หรือผู้ที่ถูกกัด
ให้แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทราบทันที เพื่อค้นหาและให้วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าแก่ผู้สัมผัสโรค
๓. แนวทางการดำเนินงานปี ๒๕๖๑
*
ผู้ที่โดนสัตว์กัดต้องมีการค้นหาและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ๑๐๐ %
- การบันทึกรายงาน ร.๓๖
บางอำเภอยังต่ำและไม่เป็นปัจจุบัน
จะมีการอบรมการใช้โปรแกรม ร.๓๖
-
จัดทำอำเภอปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ในพื้นที่เสี่ยงสูง ๔ อำเภอ ได้แก่ ขุนหาญ ขุขันธ์
ไพรบึง และปรางค์กู่ (ไม่พบผู้ป่วยในคนและในสัตว์) จังหวัดลงนิเทศติดตาม
ในเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม ๒๕๖๑
- ขอความร่วมมือในการติดตามผู้มารับวัคซีนให้ครบถ้วน
๔.โรคเลปโตสไปโรซีส(Leptospirosis)
ประเทศไทย
ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค.
– ๑๘ ธ.ค. ๒๕๖๐ พบผูปวย
พบผูปวย ๓,๓๔๐ ราย จาก ๖๖ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๕.๑๐ ตอแสนประชากร เสียชีวิต ๖๐ ราย คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๙ตอแสนประชากร อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง ๑:๐.๒๒ กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ ๔๕-๕๔ ป (๒๒.๖๐ %) ๓๕-๔๔ ป (๑๘.๗๔ %) ๕๕-๖๔ ป (๑๗.๕๗ %) อาชีพสวนใหญ เกษตรกรรอยละ ๕๐.๖ รับจางรอยละ ๒๒.๑ นักเรียนรอยละ ๘.๖ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด ๕ อันดับ แรกคือ ศรีสะเกษ (๕๕.๒๘ ตอแสนประชากร) ตรัง (๒๒.๖๖ ตอแสนประชากร) กระบี่ (๑๗.๘๕ ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (๑๕.๖๗ ตอแสนประชากร) พังงา (๑๔.๔๖ ตอแสนประชากร)
พบผูปวย ๓,๓๔๐ ราย จาก ๖๖ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๕.๑๐ ตอแสนประชากร เสียชีวิต ๖๐ ราย คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๙ตอแสนประชากร อัตราสวนเพศชายตอเพศหญิง ๑:๐.๒๒ กลุมอายุที่พบมากที่สุด
เรียงตามลําดับ คือ ๔๕-๕๔ ป (๒๒.๖๐ %) ๓๕-๔๔ ป (๑๘.๗๔ %) ๕๕-๖๔ ป (๑๗.๕๗ %) อาชีพสวนใหญ เกษตรกรรอยละ ๕๐.๖ รับจางรอยละ ๒๒.๑ นักเรียนรอยละ ๘.๖ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด ๕ อันดับ แรกคือ ศรีสะเกษ (๕๕.๒๘ ตอแสนประชากร) ตรัง (๒๒.๖๖ ตอแสนประชากร) กระบี่ (๑๗.๘๕ ตอแสนประชากร) นครศรีธรรมราช (๑๕.๖๗ ตอแสนประชากร) พังงา (๑๔.๔๖ ตอแสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค. – ๒๕ ธ.ค. ๒๕๖๐ พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น ๗๕๑
ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๕๑.๒๗
ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต ๑๓ ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน
เท่ากับ ๐.๘๙ อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ ๑.๗๓
อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง เท่ากับ ๓.๗๒ : ๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ
๔๕ - ๕๔ ปี (๒๑๑
ราย) รองลงมาคือ ๓๕ - ๔๔
ปี (๑๕๗ ราย) ๕๕
- ๖๔ ปี (๑๔๘ ราย) ๖๕ ปีขึ้นไป (๑๐๔
ราย) และ ๒๕ - ๓๔ ปี (๗๗
ราย) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ เกษตรกร
จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ ๕๖๐ ราย
รองลงมาคือ อื่นๆ (๕๙ ราย) ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง (๔๔ ราย) ข้าราชการ
(๒๖ ราย) และรับจ้างกรรมกร (๒๐ ราย)
อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด ๕ อันดับแรก
คือ อำเภอภูสิงห์อัตราป่วย ๑๕๕.๖๙
ต่อแสนประชากร
รองลงมาคืออำเภอปรางค์กู่
(๑๒๙.๐๙ ต่อแสนประชากร) , อำเภอขุขันธ์ (๑๒๖.๓๕ ต่อแสนประชากร)
, อำเภอขุนหาญ
(๑๐๒.๔๖ ต่อแสนประชากร)
และอำเภอไพรบึง (๕๖.๓๘ ต่อแสนประชากร) โรคนี้เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ ดังนั้นหากมีผู้ป่วยในพื้นที่เข้ารับการรักษาด้วยอาการอย่างน้อย
๒ อาการ ต่อไปนี้ ได้แก่
ไข้ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระบอกตา ปวดน่อง มีประวัติ ทำอาชีพทางการเกษตร ต้องรีบไปเข้ารับการรักษาที่หน่วยบริการสาธารณสุข หรือโรงพยาบาลทันที
ไข้ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระบอกตา ปวดน่อง มีประวัติ ทำอาชีพทางการเกษตร ต้องรีบไปเข้ารับการรักษาที่หน่วยบริการสาธารณสุข หรือโรงพยาบาลทันที
๕. Influenza
ประเทศไทย ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ ๑ ม.ค. - ๑๘ ธ.ค. ๖๐ พบผูปวย ๑๙๒,๕๙๓ ราย จาก ๗๗ จังหวัด คิดเปนอัตราปวย ๒๙๔.๓๖ ตอแสนประชากร
เสียชีวิต ๕๕ ราย คิดเปนอัตราตาย ๐.๐๘ ตอแสนประชากร อัตราสวน เพศชายตอเพศหญิง ๑:
๑.๑๑ กลุมอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามลําดับ คือ ๑๕-๒๔ ป (๑๒.๔๘
%) ๓๕-๔๔ ป (๑๐.๔๓
%) ๒๕-๓๔ ป (๑๐.๓๖
%) อาชีพสวนใหญ ไมทราบอาชีพ/ในปกครองรอยละ ๓๖.๓นักเรียนรอยละ ๒๙.๒ รับจางรอยละ ๑๖.๓ จังหวัดที่มีอัตราปวยตอแสนประชากรสูงสุด๕ อันดับ แรกคือ กรุงเทพมหานคร (๘๗๒.๒๐ ตอแสนประชากร)
ระยอง (๘๒๙.๙๙ ตอแสนประชากร) จันทบุรี(๖๘๒.๙๓ ตอแสนประชากร) เชียงใหม (๖๑๐.๓๖ ตอแสนประชากร)
หนองคาย (๕๖๔.๙๙ ตอ แสนประชากร)
จังหวัดศรีสะเกษ ขอมูลเฝาระวังโรค ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. – 25 ธ.ค. 2560
พบผูปวยจำนวนทั้งสิ้น 1,284 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 87.65 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย เท่ากับ
1.18 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ 0 - 4
ปี (286.65 ต่อแสนประชากร) รองลงมาคือ
5 - 9 ปี (170.92 ต่อแสนประชากร) 10 -
14 ปี (153.5 ต่อแสนประชากร) 55 -
64 ปี (82.86 ต่อแสนประชากร) และ 65 ปีขึ้นไป (80.73 ต่อแสนประชากร) อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือ
ไม่ทราบอาชีพ/ในปกครอง
จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 362 ราย รองลงมาคือ
นักเรียน (320
ราย) , เกษตร (310 ราย) , อื่นๆ (134 ราย) และข้าราชการ (61 ราย) อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 5 อันดับแรก คือ
บึงบูรพ์ อัตราป่วย 350.62 ต่อแสนประชากร รองลงมาคือ ยางชุมน้อย (248.93 ต่อแสนประชากร) ปรางค์กู่ (195.11 ต่อแสนประชากร)
อุทุมพรพิสัย (188.91 ต่อแสนประชากร) และ ราษีไศล (142.17 ต่อแสนประชากร)
กลุ่มเสี่ยงโรคดังกล่าวประกอบด้วยเด็กและผู้สูงอายุที่ภูมิคุ้มกันยังไม่เจริญเต็มที่และ
มีความเสื่อมของภูมิต้านทานต่อโรคติดต่อ ประกอบกับอากาศตอนนี้เริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว ผู้ปกครองและญาติควรดูแลกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวให้รักษาความอบอุ่นของร่างกาย โดยการนอนห่มผ้า และหากมีอาการของระบบทางเดินหายใจ ควรรีบปรึกษาแพทย์หรือบุคลการด้านสาธารณสุข จะได้รับการรักษาที่ถูกต้องและรวดเร็วเพื่อลดความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้น
มีความเสื่อมของภูมิต้านทานต่อโรคติดต่อ ประกอบกับอากาศตอนนี้เริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว ผู้ปกครองและญาติควรดูแลกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวให้รักษาความอบอุ่นของร่างกาย โดยการนอนห่มผ้า และหากมีอาการของระบบทางเดินหายใจ ควรรีบปรึกษาแพทย์หรือบุคลการด้านสาธารณสุข จะได้รับการรักษาที่ถูกต้องและรวดเร็วเพื่อลดความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้น
๖.
งานระบาดวิทยา
๖.๑ เฝ้าระวังรายงาน ๕๐๖
นับตั้งแต่ ๑ ม.ค. – ๒๕ ธ.ค. ๒๕๖๐
โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ๑๐ อันดับแรก ได้แก่ โรคไข้ไม่ทราบสาเหตุ อุจจาระร่วง
ปอดบวม ตาแดง อาหารเป็นพิษ STD (Sexually Transmitted
Disease) มือเท้าปาก วัณโรค
อีสุกอีใส ไข้หวัดใหญ่ ตามลำดับ การส่งรายงาน ๕๐๖ ในเดือน ธันวาคม ๒๕๖๐