นายวีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี
ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ
ประกาศต้านไข้เลือดออก เป็นวาระแห่งจังหวัด
กำหนดการ Kick off และประชุม MOU
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกระดับประเทศ ปี2562
ผู้ป่วย 59,167 ราย ตาย 67 ราย
อัตราป่วย/แสน 89.57 อัตราป่วยตาย(%) 0.11
อัตราป่วย/แสน 89.57 อัตราป่วยตาย(%) 0.11
ปี 2562 อำเภอขุขันธ์ ลำดับที่ 11 ผู้ป่วย 142 ราย ตาย 1 ราย
อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกอำเภอขุขันธ์ ปี 2562
ตำบลลมศักดิ์ ผู้ป่วย 9 ราย
อัตราป่วย/แสน ปชก. 159.74
อันดับที่ 2 ของอำเภอขุขันธ์
อัตราป่วย/แสน ปชก. 159.74
อันดับที่ 2 ของอำเภอขุขันธ์
อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือนเปรียบเทียบข้อมูลปี 2562 กับค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง
สรุปผลศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน EOC
อําเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ปี ๒๕๒๒
ข้อมูลระหว่างวันที่ 5 มกราคม ๒๕๖๒ ถึงวันที่ 4 สิงหาคม ๒๕๕๒
อําเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ปี ๒๕๒๒
ข้อมูลระหว่างวันที่ 5 มกราคม ๒๕๖๒ ถึงวันที่ 4 สิงหาคม ๒๕๕๒
สถานการณ์โรค อําเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ เปิดศูนย์ปฏิบัติการ EOC ตอบโต้สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสม ปี ๒๕๖๒ ณ วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๒ จํานวน ๑๔๒ ราย อัตราป่วย ๙๓.๘๓ ต่อแสนประชากร (อันดับ ๑๑ ของจังหวัดศรีสะเกษ) พบผู้ป่วยเสียชีวิต ๑ราย อัตราตาย ๐.๖๖ ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตายร้อยละ ๐.๗๔
พบอัตราผู้ป่วยสูงสุด ๕ อันดับแรก เรียงลําดับอัตราป่วยจากมากไปหาน้อยเป็นรายตําบล ดังนี้
ตำบลนิคมพัฒนา (๑๘๖.๒๒ ต่อแสนประชากร)
รองลงมาคือตําบลลมศักดิ์ (๑๔๙.๗๔ ต่อแสนประชากร)
ตําบลจะกง (๑๕๘.๘๖ ต่อแสนประชากร)
ตําบลโสน (๑๔๙.๘๗ ต่อแสนประชากร)
และ ตําบลตะเคียน (๑๓๙.๒๘ ต่อแสนประชากร)
ตําบลที่เกิดโรคแล้ว ๒๑ ตําบล(ร้อยละ ๙๕.๔๕)
หมู่บ้านที่เกิดโรคแล้ว ๙๐ หมู่บ้าน(ร้อยละ ๓๒.๖๐)
ตำบลนิคมพัฒนา (๑๘๖.๒๒ ต่อแสนประชากร)
รองลงมาคือตําบลลมศักดิ์ (๑๔๙.๗๔ ต่อแสนประชากร)
ตําบลจะกง (๑๕๘.๘๖ ต่อแสนประชากร)
ตําบลโสน (๑๔๙.๘๗ ต่อแสนประชากร)
และ ตําบลตะเคียน (๑๓๙.๒๘ ต่อแสนประชากร)
ตําบลที่เกิดโรคแล้ว ๒๑ ตําบล(ร้อยละ ๙๕.๔๕)
หมู่บ้านที่เกิดโรคแล้ว ๙๐ หมู่บ้าน(ร้อยละ ๓๒.๖๐)
พื้นที่ที่พบผู้ป่วย 1 ราย ในรอบ28 วันย้อนหลัง
จำนวน 10 ตำบล(ร้อยละ 45.45)
18 หมู่บ้าน(ร้อยละ 6.52)
กระทรวงสาธารณสุข
ขอความร่วมมือประชาชน ร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ขอความร่วมมือประชาชน ร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ด้วยมาตรการ 3 เก็บ 5 ส.
เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
และโรคชิคุนกุนยา
และโรคชิคุนกุนยา
มาตรา ๒๕ (๑)
การมีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ถือเป็นเหตุรำคาญ
ถือเป็นเหตุรำคาญ
หากเจ้าของบ้านปล่อยปละละเลยให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ในบริเวณหลังคาเรือนของตน ต้องทำลายหรือแก้ไข
มาตรา ๗๔
หากฝ่าฝืนจะมีความผิด
จำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 2 พันบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
เรียบเรียง : นายสุเพียร คำวงศ์ ผู้ประสานงานเขต รพ.สต.ที่ 1 อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ
ข้อมูลอ้างอิง : นายฤทธาธร ดอกพอง หน.งานควบคุมโรค สสอ.ขุขันธ์ (5 สิงหาคม 2562)
ดาวน์โหลดหนังสือเชิญประชุมMOU คลิก
หมายเหตุ
เกณฑ์ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำ...หมู่บ้านที่ยังไม่เกิดโรค หรือเกิดโรคและสงบแล้ว พวกเราต้องรายงานให้ผ่านเกณฑ์ (อย่างน้อยก็ต้องผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ)
หมู่บ้านมี HI น้อยกว่า 10 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของหมู่บ้านท้้งหมด
โรงเรียน,ศูนย์เด็ก,วัด,หน่วยงานราชการ ค่า CI=0
ถ้าสำรวจพบลูกน้ำให้กำจัด และรายงานเป็น 0
หมู่บ้านที่เกิดโรคในรอบ28 วัน ค่า HI ต้องน้อยกว่า 5 ในวันที่ 1-14 หลังจากได้รับรายงานเคส และวันที่ 15-28 เท่ากับ 0 ได้ยิ่งดี (คือตอน อสม.ไปสำรวจลูกน้ำ อาทิตย์ละ 1 ครั้งอย่างน้อยแล้วปรากฎว่าพบลูกน้ำ ให้กำจัดลูกน้ำทันที และรายงานเป็น 0 )
หมู่บ้านมี HI น้อยกว่า 10 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของหมู่บ้านท้้งหมด
โรงเรียน,ศูนย์เด็ก,วัด,หน่วยงานราชการ ค่า CI=0
ถ้าสำรวจพบลูกน้ำให้กำจัด และรายงานเป็น 0
หมู่บ้านที่เกิดโรคในรอบ28 วัน ค่า HI ต้องน้อยกว่า 5 ในวันที่ 1-14 หลังจากได้รับรายงานเคส และวันที่ 15-28 เท่ากับ 0 ได้ยิ่งดี (คือตอน อสม.ไปสำรวจลูกน้ำ อาทิตย์ละ 1 ครั้งอย่างน้อยแล้วปรากฎว่าพบลูกน้ำ ให้กำจัดลูกน้ำทันที และรายงานเป็น 0 )
เรียบเรียง : นายสุเพียร คำวงศ์ ผู้ประสานงานเขต รพ.สต.ที่ 1 อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ
ข้อมูลอ้างอิง : นายฤทธาธร ดอกพอง หน.งานควบคุมโรค สสอ.ขุขันธ์ (5 สิงหาคม 2562)
ดาวน์โหลดหนังสือเชิญประชุมMOU คลิก