"ขุขันธ์ เมืองเก่า ชนทุกเผ่าสามัคคี บารมีพระแก้วเนรมิตวัดลำภู คู่หลวงพ่อโตวัดเขียน กระอูบ เกวียน ครุน้อย เครื่องจักสาน ปราสาทโบราณเป็นศรี ประเพณีแซนโฎนตา"
ข้อมูลหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น(กปท.)
 

การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ ด้านโรคติดต่อนำโดยแมลง หลักสูตร CDCU Plus VCU จังหวัดศรีสะเกษ ประจำปี 2566 ระหว่างวันที่ 17 - 20 กรกฎาคม 2566

 วันที่ 17 กรกฎาคม  2566
        08.30 – 09.00 น.  - ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมอบรม
                                        - ทำแบบทดสอบ Pre – test
        09.00 – 09.30 น. เปิดการอบรมและบรรยาย เรื่อง แนวคิดและนโยบายการจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ นำโดยแมลง (CDCU Plus vector control unit) โดย หน.กลุ่มโรคติดต่อ สสจ.ศก. 
        09.30 – 11.00 น. บรรยาย เรื่อง หลักระบาดวิทยาโรคติดต่อนำโดยแมลง (หน่วยที่ 1) วิทยากร ดร.เกศรา แสนศิริทวีสุข นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ สคร. 10 จ.อุบลราชธานี
        11.00 – 12.00 น. บรรยาย เรื่อง การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคติดต่อนำโดยแมลง (หน่วยที่ 2) วิทยากร ดร.เกศรา แสนศิริทวีสุข นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ สคร. 10 จ.อุบลราชธานี
        12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
        13.00 – 15.00 น.  บรรยาย เรื่อง หลักการสอบสวนทางระบาดวิทยา การนำเสนอข้อมูล และการเขียนรายงานสอบสวน โรคติดต่อนำโดยแมลง (หน่วยที่ 3.1) วิทยากร นายชัยนันต์ บุตรกาล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สคร. 10 จ.อุบลราชธานี
        15.00 – 16.30 น. บรรยาย เรื่อง การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโรคติดต่อนำโดยแมลง ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.  2558 ในบทบาทของหน่วย CDCU plus vector control unit (หน่วยที่ 6.1) วิทยากร นายชัยนันต์ บุตรกาล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สคร. 10 จ.อุบลราชธานี

วันที่ 18 กรกฎาคม  2566
        09.00 – 10.30 น. บรรยาย เรื่อง การเก็บตัวอย่าง การนำส่งตัวอย่าง การตรวจวินิจฉัยและการแปลผลทางห้องปฏิบัติการ  ในผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย (หน่วยที่ 5.1) และการตรวจวินิจฉัยและการแปลผลทางห้องปฏิบัติการในยุง พาหะ (หน่วยที่ 5.4) วิทยากร ทนพญ.โสภิตา โสพิลา นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ สคร.10 จ.อุบลราชธานี
        10.30 – 12.00 น. บรรยาย เรื่อง การเก็บตัวอย่าง การนำส่งตัวอย่าง การตรวจวินิจฉัยและการแปลผลทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วย กรณีไวรัสโรคติดต่อนำโดยยุงลาย (หน่วยที่ 5.2) วิทยากร ดร.ทนพญ.วิภาวี แสนวงษา นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ  หัวหน้ากลุ่มห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ด้านควบคุมโรค สคร.10 
        12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
        13.00 – 14.00 น. บรรยาย เรื่อง การเก็บตัวอย่าง การนำส่งตัวอย่าง การตรวจวินิจฉัยและการแปลผลทางห้องปฏิบัติการ  ในผู้ป่วยโรคติดต่อนำโดยแมลงอื่น ๆ (หน่วยที่ 5.6) วิทยากร ดร.ทนพญ.วิภาวี แสนวงษา นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ  หัวหน้ากลุ่มห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ด้านควบคุมโรค สคร.10 
        ฐานที่ 1 โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (ยุงลาย +มาลาเรีย) 
        วิทยากร
        1. ดร.ทนพญ.วิภาวี แสนวงษา นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ 
        2. น.ส.พรนิภา สายธนู นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ 
        3. น.ส.วิไลวัลย์ วงศ์ภา นักกีฏวิทยา 
        ฐานที่ 2 โรคติดต่อนำโดยแมงลงอื่นๆ 
        วิทยากร 
        1. ทนพญ.โสภิตา โสพิลา นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ  
        2. น.ส. สุดารัตน์ กิ่งผา นักเทคนิคการแพทย์ 
        3. นายนราศักดิ์ บุญใหญ่ นักกีฏวิทยา

วันที่ 19 กรกฎาคม  2566
        09.00 – 10.30 น. บรรยาย เรื่อง การสอบสวนทางกีฏวิทยาและสิ่งแวดล้อม (หน่วยที่ 3.2) วิทยากร นส. มนศภรณ์ สมหมาย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สคร. 10 จ.อุบลราชธานี
        10.30 – 12.00 น. บรรยาย เรื่อง การตัดสินใจเพื่อการควบคุมแมลงพาหะนำโรค (decision making for vector  control) (หน่วยที่ 6.2) วิทยากร นส.วิไลวัลย์ วงศ์ภา นักกีฏวิทยา สคร.10 จ.อุบลราชธานี
        12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
        กลุ่ม 1 โรคติดต่อนำโดยยุงลาย 
        วิทยากร
        1. นางสาววิลาวัลย์ สุขยา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 
        2. นางสาวมนศภรณ์ สมหมาย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 
        กลุ่ม 2 โรคไข้มาลาเรีย  
        วิทยากร
        1. นางสาวจุฬารัตน์ มานะดี นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ 
        2. นางสาวนงค์นุช สุรัตนวดี นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ 
        กลุ่ม 3 โรคเท้าช้าง 
         วิทยากร
        1. นางสาวสำรวย ศรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ          2. นายนราศักดิ์ บุญใหญ่ นักกีฏวิทยา 
        กลุ่ม 4 โรคสครับไทฟัสและโรคลิชมาเนีย  
        วิทยากร
        1. นายชัยนันต์ บุตรกาล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 
        2. นางสาววิไลวัลย์ วงศ์ภา นักกีฏวิทยา 
หมายเหตุ จำนวนกลุ่มพิจารณาตามความเหมาะสมจากจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566
        09.00 – 10.30 น. บรรยาย เรื่อง พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 (หน่วยที่ 4) วิทยากร ว่าที่ร้อยตรี พลภัทร ศรีกุล นิติกร สคร.10 จ.อุบลราชธานี
        10.30 – 12.00 น. นำเสนอผลการฝึกปฏิบัติการสอบสวนโรค (หน่วยที่ 3.3)
        ผู้วิพากย์
        1. นายชัยนันต์ บุตรกาล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
        2. นางสาวสำรวย ศรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
        12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
        13.00 – 13.30 น. ทำแบบทดสอบ Post – test 
        13.30 – 14.30 น. พิธีมอบประกาศนียบัตรและปิดการประชุมฯ

ที่มา : การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพหลักสูตรระบาดวิทยาสำหรับผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่ในหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ ด้านโรคติดต่อนำโดยแมลง (CDCU plus vector control unit) ระหว่างวันที่ 17 - 20 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2566 ณ ห้องประชุมอาคารส่งเสริมสุขภาพ และอาคารอเนกประสงค์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ